คลังเก็บหมวดหมู่: ประเภทสารเคมี

Stearic acid

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  N-octadecanoate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Stearic acid

        ชื่อพ้องอื่นๆ    1-Heptadecanecarboxylic acid; Stearophanic acid; N-octadecylic acid; Cetylacetic acid; Barolub fta; Century 1210; Century 1220; Century 1230; Century 1240; Dar-chem 14; Emersol 120; Emersol 132; Emersol 150; Emersol 153; Emersol 6349; Formula 300; Glycon dp; Glycon s-70; Glycon s-80; Glycon s-90; Glycon tp; Groco 54; Groco 55; Groco 55l; Groco 58; Groco 59; Humko industrene r; Hydrofol acid 150; Hydrofol acid 1655; Hydrofol acid 1855; Hydrofol 1895; Hy-phi 1199; Hy-phi 1205; Hy-phi 1303; Hy-phi 1401; Hystrene 80; Hystrene 4516; Hystrene 5016; Hystrene 7018; Hystrene 9718; Hystrene s 97; Hystrene t 70; Industrene 5016; Industrene 8718; Industrene 9018; Industrene r; Kam 1000; Kam 2000; Kam 3000; Loxiol g 20; Lunac s 20; Naa 173; Neo-fat 18; Neo-fat 18-s; Neo-fat 18-53; Neo-fat 18-54; Neo-fat 18-55; Neo-fat 18-59; Neo-fat 18-61; PD 185; Pearl stearic; Promulsin; Proviscol wax; Stearex beads; Tegostearic 254; Tegostearic 255; Tegostearic 272; Vanicol;

        สูตรโมเลกุล    CH3(CH2)16COOH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์68

        รหัส IMO     –

        CAS No.      57-11-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    WI 2800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        200-213-4

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า     J.T. BAKER INC.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                57-11-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีให้ห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    –

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.30(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.86(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผงของแข็ง

        สี : ขาวจนถึงเหลือง

        กลิ่น : คล้ายน้ำมันพืช

        นน.โมเลกุล :  284.48

        จุดเดือด(0ซ.) :  383

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  69-70

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    0.94

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 9.8

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :   1 ที่ 173.70ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : ไม่ละลาย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  11.635

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =    0.085 ppm ที่    250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   ละลายในแอกอฮอล์ อีเธอร์ อะซิโตน และคลอโรฟอร์ม

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองทางเดินหายใจ ทำให้เกิดอาการไอ เจ็บคอ หายใจลำบาก และเจ็บหน้าอก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง เป็นผื่นแดง และปวดแสบปวดร้อน

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารและลำไส้ และอาจไปรบกวนการทำงานของลำไส้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา ตาแดง และปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : –

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดส์รุนแรง เบสแก่

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน , เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟ การทำให้เกิดฝุ่น และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนไดออกไซด์, คาบอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         113

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) : 395

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   110

         สารดับเพลิง : ใช้ผงเคมีแห้ง โฟม หรือ คาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้ติดไฟเมื่อมีอุณหภูมิสูง หรือสัมผัสกับแหล่งจุดติดไฟ

                – ความเข้มข้นของฝุ่นที่กระจายอยู่ในอากาศ และมีแหล่งจุดติดไฟจะก่อให้เกิดการระเบิดได้

                – อย่าใช้น้ำฉีดเป็นเส้นตรงในการดับเพลิง เพราะจะทำให้สารเกิดหลอมเหลวและลอยตัวขึ้นมาอยู่บนผิวน้ำ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และชุดป้องกันสารเคมี

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น และของแข็ง

        สถานที่เก็บ

                – ให้สังเกตุคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

                – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – จัดให้มีการระบายอากาศบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ให้ทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหล โดยวิธีที่ไม่ทำให้ฝุ่นแพร่กระจายไปในอากาศ

        – ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – ลดฝุ่นในบรรยากาศ และป้องกันการแพร่กระจายโดยทำให้ชื้นกับน้ำ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ไม่ควรนำสารกลับมาใช้ใหม่ ควรนำไปกำจัดด้วยวิธีที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นำส่งไปพบแพทย์ ถ้าเกินหายใจลำบาก

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำปริมาณมาก ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ถ้าเกิดอาการระคายเคือง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ ขณะทำการล้างนำส่งไปพบแทพย์ ถ้าเกิดอาการระคายเคืองขึ้น

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – เมื่อสารนี้ถูกปล่อยลงสู่ดิน, น้ำ จะเกิดการย่อยสลาย

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Atomic Absorption spectroscopy, AAS

เป็นเครื่องมือวิเคราะห์หาปริมาณโลหะชนิดต่างๆ ที่อยู่ในรูปสารละลายไอออน เช่น Al3+, Ca2+, Cd2+, Cr2+, Cu2+, Fe3+, Mn2+, Na+, Ni2+, Pb2+ และ Zn2+ เป็นต้น

หลักการทำงานของเครื่องวิเคราะห์หาปริมาณโลหะ เริ่มจากสารละลายตัวอย่างถูกส่งผ่านเข้าสู่เปลวไฟ (Flame) เพื่อทำให้เกิดกระบวนการ   แตกตัว  โดยไอออนของโลหะจะแตกตัวอยู่ในรูปของออกไซด์ หรือ อะตอมเสรีของธาตุ โดยปรากฏการณ์นี้จะทำให้อิเล็กตรอนของธาตุเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานจากสภาวะพื้น (Ground stage) ไปสู่สภาวะกระตุ้น (Excited stage) โดยอาศัยการดูดกลืนแสง (Absorption) ที่ความยาวคลื่นที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของธาตุ เมื่อนำค่าความเข้มข้นเริ่มต้นของแสง (Io) มาคำนวนผลกับค่าความเข้มข้นสุดท้ายหลังจากถูกดูดกลืนแสง (I1) จะได้ “ค่าการดูดกลืน (Absorbance, A)” ซึ่งค่าการดูดกลืนแสงจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของธาตุที่อยู่ในสารละลายตัวอย่าง