คลังเก็บหมวดหมู่: ของเหลวไวไฟ

Piperidine

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Hexazane; Pentamethyleneimine

        ชื่อเคมีทั่วไป  Piperidine

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Azocyclohexane ; Cyclopentimine ; Hexahydropyridine pentamethyleneimine

        สูตรโมเลกุล    C6H11N

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์42

        รหัส IMO      12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.      110-89-4

        รหัส EC NO.  613-027-00-3

        UN/ID No.    2401

        รหัส RTECS    TM 3500000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        203-813-0

        ชื่อวงศ์   Heterocyclic nitrogen compound

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                110-89-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    520 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :   –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : กลิ่นเอมีน

        นน.โมเลกุล :  85.15

        จุดเดือด(0ซ.) :  106

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   -7

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      0.8622  

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :   3

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  40 ที่ 29.2 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้หมด

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.48

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.287 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สามารถละลายได้หมดในอะซิโตน ไดเอทธิลอีเธอร์ เบนซิน คลอโรฟอร์ม

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปสารนี้จะไปทำลายเยื่อบุเมือกและทางเดินหายใจส่วนบน เกิดอาการชัก กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ ปอดบวม โรคปอดอุดตันเนื่องจากสารเคมี เกิดอาการไอ หายใจติดขัด หายใจถี่รัว ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง และอาจเกิดอันตรายได้ถ้าสารนี้ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการทำลายเยื่อบุทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน กล่องเสียงและหลอดลมใหญ่อักเสบ ไอ หายใจติดขัด เกิดอาการชัก

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดงเจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ปกติสารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์อย่างกรง คาร์บอนไดออกไซด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ประกายไฟ เปลวไฟ ความร้อนและแหล่งจุดติดไฟอื่นๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          16

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  365

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   330

         สารดับเพลิง : ให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยหรือใช้แอลกอฮอล์โฟม

                – สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดระเบิดได้หรือที่อุณหภูมิสูงกว่า 16 องศาเซลเซียส

                – ไอระเหยของสารนี้หนักกว่าอากาศ สามารถไหลแพร่กระจายไปสู่แหล่งของจุดติดไฟและลุกติดไฟย้อนกลับมาสู่จุดรั่วไหลหรือภาชนะบรรจุที่เปิดฝาไว้

                – ในระหว่างเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซพิษ ระคายเคืองของไนโตรเจนออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่มิดชิด แห้ง เย็น มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน ประกายไฟ แหล่งจุดติดไฟ

        สถานที่เก็บ

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเอาสารนี้เข้าไป สัมผัสถูกตา ผิวหนังและเสื้อผ้า

                – ใช้เฉพาะในบริเวณตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น

                – ล้างทำความสะอาดหลังจากเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Piperidine

                ประเภทอันตราย :  –

                หมายเลข UN : UN 2401

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : –

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ปิดกั้นแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดให้ออกห่าง

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

        – ปิดคลุมด้วยทรายแห้ง ปูนขาวหรือโซดาแอซ

        – ใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟเก็บกวาดเพื่อนำไปกำจัดเป็นกากของเสียต่อไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้บ้วนล้างปากด้วยน้ำ ไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – เป็นอันตรายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพีเอช เป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม เมื่อผสมกับน้ำจะก่อให้เกิดสารผสมที่มีพิาต่อปลา ไม่สามารถเจือจางได้

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        19

        DOT Guide :            132

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Cuprous oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Copper (I) oxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Cuprous oxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Red copper oxide; Brown copper oxide; Copper (I) oxide; C.I. 77402; Perenex; Yellow cuprocide; Copper-Sandoz; Caocobre; Cuprite; Copper oxide; Copox; Copper hemioxide; Copper nordox; Copper oxide (Cu2O); Copper protoxide; Copper suboxide; Cuprocide; Dicopper monoxide; Dicopper oxide; Fungi-rhap CU-75; Fungimar; Kuprite; Nordox; Nordox SD-45; Oleo nordox; Oleo nordox perecot; Oleocuivre; Perecot; Perenox; Copper Oxide (cuprous, red);

        สูตรโมเลกุล      Cu2O

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์28

        รหัส IMO     12286089_10207247452278075_1668521281_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.        1317-39-1

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.      –          

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  J.T. BAKER INC.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1317-39-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารในห้องปฏิบัติการ          
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 470 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผงของแข็ง

        สี : สีแดง-น้ำตาล

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :  143.09

        จุดเดือด(0ซ.) :  1800

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 1232

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        6.00

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้เล็กน้อย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.85

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.17 ppm ที่  25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สลายตัวที่อุณหภูมิ 1800 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้เป็นอันตรายต่อระบบหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป อาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายได้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชีรายชื่อของ NTP, IARC

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย ภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่พบข้อมูล

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อากาศ ความชื้น ความร้อน

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : สารพวกออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากพื้นที่ที่เกิดเพลิงไหม้ถ้าสามารถทำได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บภาชนะบรรจุในที่ไม่ถูกแสงแดด

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากความร้อนภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ฝุ่น ของแข็ง ) ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ใช้พลั่วที่สะอาดตักสารนี้อย่างระมัดระวังใส่ในภาชนะบรรจุที่สะอาด แห้ง มิดชิดและเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป กระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียนทันที โดยบุคลากรทางการแพทย์ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิดหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำประมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงน้ำ แหล่งน้ำ ดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :    –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          –

        DOT Guide :              –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

tert-Butanol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC    2-Methyl-2-propanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Tert-Butyl alcohol ; T-Butanol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      1,1-Dimethylethanol; Trimethylcarbinol; 2-Methylpropan-2-ol; Tert-Butanol; TBA; T-butyl hydroxide; Trimethyl methanol; Dimethylethanol; Methyl-2-propanol; Tertiary-butyl alcohol

        สูตรโมเลกุล      C4H10O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์145

        รหัส IMO12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        75-65-0

        รหัส EC NO.    603-005-00-1

        UN/ID No.      1120              

        รหัส RTECS    EO 1925000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-889-7

        ชื่อวงศ์                   Tertiary aliphatic alcohol/ tertiary alkanol/ tertiary alkyl alcohol

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 75-65-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการทำแอลกอฮอล์ให้เป็นกลาง ตัวทำลายในการผลิตยา เป็นสาร dehydration agent ใช้ในการทำน้ำหอม เป็นสารตัวกลางเคมี ทำสี ใช้ในการเตรียมเมทิลเมทาไลเลต
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :     3500 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     1600(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         100(ppm)       

        PEL-STEL(ppm) :    150(ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        100(ppm)       

        TLV-STEL(ppm) :    150(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :  –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เหมือการบูร

        นน.โมเลกุล :   74.12

        จุดเดือด(0ซ.) : 83

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 25.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.786

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.55

        ความหนืด(mPa.sec) :        3.35

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    31 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    เป็นกลาง

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในเอทานอล และอีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองจมูกและคอ ทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน งง และหมดสติ กดระบบประสาทส่วนกลาง ถ้าสารเข้าไปในปอด ทำให้ปอดอักเสบ ทำให้หัวใจล้มเหลว

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองบวม เป็นผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน หมดสติ

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  สารนี้ดูดซึมเข้าไปในเลือด แต่สามารถขับออกมาทางลมหายใจและปัสสาวะ และสารนี้ทำลายประสาท ตับ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง ทำให้เกิดการระเบิด โลหะผสมโพแทสเซียม โซเดียม เกิดการจุดติดไฟ กรดแร่แก่ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ กรดซัลฟูริก

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ประจุไฟฟ้าสถิตย์ ประกายไฟ เปลวไฟ และแหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            11

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    478

        ค่า LEL % :     2.4

        UEL % :        8

        NFPA Code :    12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้โฟมแอลกอฮอล์ คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – สารนี้ไวไฟ

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิดที่อุณหภูมิมากกว่า 11 องซาเซลเซียส

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – น้ำใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล ไม่สามารถทำให้สารเย็นเพราะมีจุดวาบไฟต่ำ

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ Isobutydene

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บแยกจากสารไวไฟ การจุดสูบบุหรี่ ไม้ขีดไฟ แหล่งจุดติดไฟ

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ต่อภาชนะบรรจุลงดินและใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                – บริเวณที่เก็บสารควรแยกจากบริเวณที่ทำงาน

                – อย่าเก็บสารไว้ใกล้ทางออก

                – ติดป้ายเตือนอันตราย

                – มีอุปกรณ์กับเพลิงและอุปกรณ์ทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – เก็บไว้ในอุณหภูมิที่บริษัทผู้ผลิตกำหนด

                – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น

                – ควรมีการทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                – ไม่ควรมีการตัด เชื่อม จุดบริเวณใกล้สารเคมี

                – อย่าใช้สารร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุ

                – อย่านำสารที่ใช้แล้วนำกลับไปใส่ภาชนะบรรจุใหม่

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – อย่าเข้าไปในบริเวณสารหกรั่วไหลจนกว่าจะมีการทำความสะอาดเสร็จ

        – ทำความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชำนาญ

        – ย้ายแหล่งจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ระบายอากาศบริเวณสารรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน หรือวัสดุดูดซับที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสาร

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม Cartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี canister ประเภทที่เหมาะสม หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียนให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240-300 ml เพื่อเจือจางสารในท้อง ถ้าเกิดอาเจียนขึ้นให้ดื่มน้ำซ้ำ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 5 นาที หรือจนสารเคมีหมด นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าสารเคมีออกหมด ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออกนำส่งไปพบแพทย์ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – จะไม่ก่อเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 1400

        OSHA NO. :   07

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg /50 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 1 ลิตร สูงสุด 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 16

        DOT Guide :   129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Styrene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Phenylethene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Styrene; Vinyl benzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Phenylethylene ; Styrol ; Cinnamene; Ethenylbenzene; Annamene; Styrolene; Cinnamene; Cinnamol; Cinnamenol; Diarex hf 77; Phenethylene; Phenylethene; Styron; Styropol; Styropor; Vinylbenzol; Styrene monomer

        สูตรโมเลกุล      C8H8

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์143

        รหัส IMO        12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        100-42-5

        รหัส EC NO.    601-026-00-0

        UN/ID No.      2055         

        รหัส RTECS        WL 3675000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         202-851-5

        ชื่อวงศ์                   Aromatic Hydrocarbons

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        J.T. BAKER

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ        –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 100-42-5         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้นำไปใช้ในห้องปฏิบัติการ ( LABORATORY REAGENT )
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    5000  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     700(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         100(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       200(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :        50(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     100

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :  –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   104.15

        จุดเดือด(0ซ.) : 145

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -31

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.91

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.6

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    5 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 0.1%

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   4.26

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.23 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองระบบหายใจ , อาจจะทำเกิดอาการโรคน้ำท่วมปอด , ง่วงนอน ไอ ปวดศีรษะ วิงเวียศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน และเซี่องซึม

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เป็นแผลไหม้ ทำให้เกิดผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และเป็นแผลไหม้ที่ปากและกระเพาะอาหาร ทำให้เกิดอาการเจ็บคอ ปวดท้อง ปวดศีรษะ วิงเวียน อาเจียน และเซื่องซึม

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา และเกิดแผลไหม้ ตาแดง และปวดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อวัยวะเป้าหมาย : ระบบประสาทส่วนกลาง , ระบบหายใจ , ตา , ผิวหนัง

        ผลการสัมผัสเรื้อรัง จะกดระบบประสาทส่วนกลาง   สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชี รายชื่อของ NTP , IARC , 2LIST, OSHA

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ที่รุนแรง, ทองแดง, กรดเข้มข้น, เกลือของโลหะ, ตัวเร่งปฏิกิริยา

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: แสง , ความร้อน , เปลวไฟ , แหล่งจุดติดไฟอื่น ๆ , อากาศ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนมอนนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            31

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    489

        ค่า LEL % :     1.1

        UEL % :        8.9

        NFPA Code :    232

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ โฟม , แอลกอฮอล์ , ผงเคมีแห้ง หรือ คาร์บอนไดออกไซด์ , น้ำใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ ถ้าสัมผัสกับสารออกซิไดซ์ที่รุนแรงอาจจะเกิดไฟไหม้ได้

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดไฟไหม้ ถ้าสามารถทำได้อย่างปลอดภัย

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – ก๊าซพิษที่เกิดในขณะที่ไฟไหม้ : คาร์บอนมอนนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง (อุณหภูมิต่ำกว่า +15 องศาเซลเซียส)

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บในบริเวณที่เก็บของเหลวไวไฟ และ เก็บในภาชนะที่ต้านทานแสง

                –  ต่อสายเชื่อม ( BOND ) และสายดินที่ภาชนะบรรจุในขณะที่ทำการขนถ่ายสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : STYRENE MONOMER , INHIBITED

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 2055

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลปิด / เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟ , ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย หรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไม่สามารถลุกติดไฟได้ และเก็บใส่ภาชนะบรรจุที่เหมาะสม เพื่อนำกำจัด

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อลดการเกิดไอระเหย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

               แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ,Supported Polyvinyl Alcohol แต่ควรหลีกเลี่ยงNitrile, Unsupported Neoprene ,Neoprene, Polyvinyl Chloride , Natural Rubber,Neoprene/Natural Rubber Blend

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) พร้อม Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปจากบริเวณเปลวไฟของสาร เคลื่อนย้ายสารและผู้ป่วยไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์ รีบนำไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำปริมาณมาก และกระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียน และนำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ :   

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 1501, 3800

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 5 ไมโครลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 14

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Propanol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2 – Propanol ; Isopropanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Isopropyl alcohol ; 2 – Propyl alcohol ; Sec – propyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      IPA; Sec-propanol; Rubbing Alcohol; Dimethylcarbinol; Sec-Propyl alcohol; Alcohol; Propan-2-ol; I-Propanol; 2-Hydroxypropane; Alcojel; Alcosolve; Avantin; Chromar; Combi-schutz; Hartosol; Imsol a; Isohol; Lutosol; Petrohol; N-propan-2-ol; Propol; Spectrar; Sterisol hand disinfectant; Takineocol; Alcosolve 2; DuPont Zonyl FSP Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSJ Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSA Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSN Fluorinated Surfactants; Isopropyl Alcohol (Manufacturing, strong-acid process);

        สูตรโมเลกุล      C3H8O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์142

        รหัส IMO       12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        67-63-0

        รหัส EC NO.    603-003-00-0

        UN/ID No.      1219            

        รหัส RTECS     NT 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-661-7

        ชื่อวงศ์                   Secondary อะลิฟาติกแอลกอฮอล์

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า         –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ         Cheminfo

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 67-63-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเครื่องสำอางค์ และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4710 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       4710 (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     2000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :    400(ppm)     

        PEL-STEL(ppm) :   500(ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    400(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :   500(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :  –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เหมือนยางแอลกอฮอล์ , ฉุน

        นน.โมเลกุล :   60.09

        จุดเดือด(0ซ.) : 82.3

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -88.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.8044

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.1

        ความหนืด(mPa.sec) :        2.4

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    33 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   2.45

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.408 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปไม่เป็นอันตรายมาก แต่เกิดการระคายเคืองจมูกและลำคอ และระบบทางเดินหายใจ อาการที่แสดงต่อมาเมื่อได้รับสารเพิ่มขึ้น คือ ปวดหัว , คลื่นไส้ , วิงเวียน , อาเจียน ถ้าได้รับปริมาณสูงขึ้นอาจทำให้หมดสติหรือตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังไม่ทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณผิวหนังในกรณีที่สัมผัสในเวลาอื่นๆ แต่ถ้าสัมผัสนาน จะทำให้ผิวหนังแห้งและผิวหนังแตก

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนเข้าไปปริมาณมากทำให้อาการทรุดหนักลงไป อาการคล้ายการสัมผัสทางหายใจ ซึ่งควรนำไปพบแพทย์ อาการคือจะอาเจียน และมีอันตรายเกี่ยวกับปอด

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาทำให้เกิดการระคายบริเวณตา ถ้าสัมผัสถูกสารที่ 400 ppm ประมาณ 3 – 5 นาที ถ้าสัมผัสที่ 800 ppm จะทำให้เกิดแผล อาจจะไม่เป็นอันตรายต่อคน แต่จากการทดลองเป็นอันตรายต่อสัตว์ เมื่อได้รับในอัตราที่สูง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อาจจะไม่เป็นอันตรายต่อคน แต่จากการทดลองเป็นอันตรายต่อสัตว์ เมื่อได้รับในอัตราที่สูง และสารทำลายระบบประสาท ไต ระบบหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ระบบทางเดินอาหาร

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้เสถียร เกิดรูปเปอร์ออกไซด์ในความมืด และไวต่อแสงแดด ทำให้อยู่ในรูปของคีโตนเมื่อเกิดปฏิกิริยาเปอร์ออกซิเดรีน

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์อย่างแรง (โครเมียมไตรออกไซด์ , เปอร์คลอเรต , เปอร์ออกไซด์) ซึ่งเสี่ยงต่อการติดไฟ , ระเบิด กรดเข้มข้น (กรดไนตริก , กรดซัลฟูริก , โอลีน) ปฎิกริยาที่รุนแรงและอันตราย โลหะอัลคาไลน์ และอัลคาไลน์เอริท์ (ไม่เกิดการติดไฟได้ก๊าซไฮโดรเจน) อลูมิเนียม เกิดปฏิกริยารุนแรง และไม่ให้ความร้อนโครโตนานดีไฮน์หรือฟอสจีน , โพแทลเซี่ยลบิวทิวออกไซด์ , ไตรไนโตรมีเทป

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: เปลวไฟ , ประกายไฟ , ประจุไฟฟ้า , ความร้อน และสารติดไฟ , แสง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : แอนไฮดริส โพรพานอลไม่กัดกร่อนเหล็ก , สเตนเลท , เหล็กกล้า , ทองแดงและบรอนซ์ และอัลลอยด์ที่อุณหภูมิปกติ

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            11.7

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    399

        ค่า LEL % :     2

        UEL % :        12

        NFPA Code :    12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์ , ผลเคมีแห้ง , แอลกอฮอล์โฟม , พอลิเมอร์โฟม แต่น้ำจะไม่มีประสิทธิภาพในการดับเพลิง เพราะไม่ทำให้อุณหภูมิของสารต่ำกว่าจุดวาบไฟได้ นิยมที่สุดคือ โฟม

                – สารนี้ทนต่อแรงกระแทก , ไวต่อประจุไฟฟ้า

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – สารที่ได้จากการเผาไหม้ : คาร์บอนมอนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์ และสารพิษอื่นๆ

                – ควรหยุดสารที่รั่วไหลก่อนจะดับไฟ ถ้าหยุดสารไม่ได้ให้ใช้น้ำในการดับเพลิง

                – ในการดับเพลิงควรอยู่ในที่ที่ปลอดภัย อยู่เหนือลม เพื่อป้องกันสารพิษปลิวเข้าตา

                – ถ้าเป็นไปได้ควรนำภาชนะบรรจุสารออกไปจากบริเวณนั้น

                – ในกรณีสารรั่วไหลแต่ยังไม่ไหม้ ควรใช้น้ำฉีดเป็นฝอยกว้างๆ หรือใช้น้ำช่วยในการเจือจางฉีดให้ห่างจากเปลวไฟ หรือสารติดไฟ

                – ผู้ดับเพลิงควรมีความชำนาญ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดส์ , การกัดกร่อนและสารไม่เข้ากัน หรือกรดเข้มข้น , กรดแอนไฮไดรส์ , ธาตุอัลคาไลฟ์ , ธาตุอัลคาไลน์เอริท (โลหะ ควรจะปิดฉลากไว้ด้วยและเขียนคุณสมบัติของสารไว้ด้วย)

                – เก็บให้ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้ ความร้อน เปลวไฟ แสงแดด

                – สถานที่เก็บไม่ควรมีสื่อที่สามารถติดไฟได้ เช่น บุหรี่ ไม้ขีดไฟ ไฟ

                – ควรปิดฝาภาชนะเมื่อไม่ใช้

                – ไม่ควรนำสารที่เหลือจากการใช้กลับมาใส่ภาชนะบรรจุอีก และควรปิดฉลากไว้ด้วย

                – สารนี้ไวไฟ เป็นสารพิษ และสารระคายเคืองตา

                – ก่อนเก็บสิ่งสำคัญคือควรมีอุปกรณ์ป้องกันและทำความสะอาดให้ดี

                – บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีควรทราบถึงคุณสมบัติของสาร

                – การจัดเก็บควรมีคู่มือการปฐมพยาบาล

                – วิธีการดับเพลิง หรือวิธีการกำจัดกรณีรั่วไหล หลีกเลี่ยงการเกิดไอ และไม่ให้ไอรั่วไหลออกไป อย่าให้สารกระเด็น

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Isopropanol

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : 1219

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม I

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยดิน , ทราย , ฝุ่น หรือสารที่มีคุณสมบัติการดูดซับได้

        – จัดหาอุปกรณ์ป้องกันและจัดเก็บสารที่รั่วไหลใส่ภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัด

        – จัดเก็บสารที่รั่วไหล นำเอาสารที่เป็นของเหลวกลับมาใช้ใหม่ หรือจัดเก็บไว้ถ้าสามารถทำได้

        – หยุดการรั่วไหลของสารถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงจากอันตราย

        – เคลื่อนย้ายสารที่ทำให้เกิดความร้อน

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

               แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 200 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดี และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 30 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดี และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และCanister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมีCanister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                 – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปจากบริเวณเปลวไฟของสาร เคลื่อนย้ายสารและผู้ป่วยไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์ รีบนำไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ไม่ควรให้สิ่งใดเข้าปากในกรณีผู้ป่วยหมดสติ ควรล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ควรให้ผู้ป้วยดื่มน้ำ 8-10 แก้วหรือ 240-300 มิลลิลิตร เพื่อนำไปเจือจางสารในช่องท้อง ถ้าผู้ป่วยเกิดอาเจียนขึ้นมาให้ผู้ป่วยนอนลาดกับพื้น และให้ดื่มน้ำอีกแล้วรีบนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำไปส่งพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ควรล้างตาด้วยน้ำอุ่นทันที โดยในน้ำไหลผ่านประมาณ 20 นาที หรือจนกระทั่งสารเคมีออกหมดแล้ว ควรเปิดเปลือกตา ดูแลอย่าให้มีสิ่งเจือปนในน้ำเข้าตาอีก แล้วรีบนำไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – สารนี้สามารถเกิดการย่อยสลายทางชีวภาพได้

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 1400

        OSHA NO. :   109

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                          – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100mg/50 mg

                          – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค GC ที FID detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 16

        DOT Guide :   129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

n-Butylamine

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   1-Butanamine

        ชื่อเคมีทั่วไป     N-butylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ      1-Aminobutane; Aminobutane; Butyl amine; Norralamine; Mono-n-butylamine; Tutane; Monobutylamine

        สูตรโมเลกุล      C4H11N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์140

        รหัส IMO  12286089_10207247452278075_1668521281_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        109-73-9

        รหัส EC NO.    612-005-00-0

        UN/ID No.      1125            

        รหัส RTECS     EO 2975000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-699-2

        ชื่อวงศ์                   

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า         JT. Kaker .Inc

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 109-73-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    366 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :  800/ 4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     300(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         5(ppm)      

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :        5(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :        5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใสไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   73.4

        จุดเดือด(0ซ.) : 78

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -49

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.74

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.5

        ความหนืด(mPa.sec) :       0.5

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    82 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     12.6 ที่ 25 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     3.00

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและลำคอ ทำให้ปวดศีรษะ และน้ำท่วมปอดได้ ถ้าได้รับไอระเหยที่ระดับความเข้มข้นสูงจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด ไอ เจ็บหน้าอก เวียนศีรษะ เกิดอาการชักกระตุกอย่างรุนแรง ง่วงซึม และอาจหมดสติได้ แต่ตามสมบัติของสารนี้จะทำให้เกิดการระคายเคืองเมื่อมีสถานะเป็นไอระเหย

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังไหม้ สารนี้สามารถถูกดูดซึมผ่านผิวหนัง ซึ่งทำให้เกิดอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไปได้

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินเข้าไป จะมีอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไป และทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณปาก คอ รวมทั้งกระเพาะอาหารและลำไส้ ซึ่งถ้าได้รับปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตา ไอของสารจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ทำให้เกิดการทำลายตา และทำให้สูญเสียการมองเห็นได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การสัมผัสเรื้อรัง การสัมผัสถูกผิวหนังนานๆหรือบ่อยๆจะทำให้เกิดอาการผิวหนังอักเสบ อวัยวะเป้าหมาย ตา ผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความคงตัวภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ สารเปอร์คลอริวฟลูออไรด์ และกรดเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : การลุกไหม้จะทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           -12

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    312

        ค่า LEL % :     1.7

        UEL % :        9.8

        NFPA Code :    12286090_10207280455623138_1983312831_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟมหรือคาร์บอนไดออกไซด์

                – การระเบิด : ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศจะระเบิดได้ภายใต้ขีดจำกัดความไวไฟที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ ไวต่อประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ไอระเหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทเมื่อสัมผัสถูกความร้อนอาจทำให้เกิดการระเบิดขึ้นได้

                – การสัมผัสกับสารออกซิไดซ์มากๆ อาจจะทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

                – อย่าใช้การฉีดน้ำเป็นลำตรง ลำน้ำจะทำให้สารเคมีและเปลวไฟแพร่กระจาย

                – ให้ใช้การฉีดน้ำเป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหรือหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงใหม้ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

                – การเคลื่อนย้ายและการเก็บรักษา มีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – แยกเก็บจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บภายนอกอาคารหรือแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ให้ออกห่างจากพื้นที่ใดๆที่อาจเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลัน

                –  มีการระบายอากาศเพื่อป้องกันการเกิดระเบิด

                – ไม่ควรสูบบุหรี่บริเวณที่เก็บสารเคมีนี้

                – ให้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อเชื่อมหรือต่อลงดินเพื่อป้องกันการเกิดประกายไฟจากไฟฟ้าสถิตย์

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้ที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตก้างอยู่ เช่น ไอระเหย และของเหลว อาจทำให้เกิดอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : BUTYLAMINE

                ประเภทอันตราย : 3.2 , 8

                หมายเลข UN : UN 1125

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้ทำการกันแยกบริเวณพื้นที่ที่อันตราย และกันบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องห้ามเข้าในบริเวณนี้

        – ให้เก็บรวมรวมของเหลวที่รั่วไหล และนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถ้าเป็นไปได้

        – ให้ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยวัสดุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย(vermiculite) ทรายแห้ง ดิน และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสีย

        – อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย ในการดูดซับสาร

        – อย่าเททิ้งลงท่อระบายน้ำ

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดไอระเหย

        – แนะนำให้ใช้ตัวทำละลายของสารนี้เป็นตัวดูดซับเมื่อมีการหกรั่วไหล

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 300 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ การปฐมพยาบาล ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ ห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ให้ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าให้สะอาดก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ค่อยๆฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ :   กรณีการสัมผัสสารในปริมาณมากให้ทำการติดตามผลของการเกิดอาการน้ำท่วมปอดในระยะยาว

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน

                – สารนี้จะสลายตัวทางชีววิทยาเหลือความเข้มข้นปานกลางเมื่อรั่วอยู่ในดิน

                – สารนี้ระเหยในความเข้มข้นปานกลาง เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าจะไม่สะสมในสิ่งมีชีวิต

                – สารนี้มีค่าความเข้มข้นทางชีวภาพ(BCF) โดยประมาณน้อยกว่า 100

                – สารนี้คาดว่ามีการระเหยอย่างรวดเร็ว เมื่อรั่วไหลลงสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าสามารถสลายตัวได้ง่ายโดยทำปฏิกิริยาเคมีเมื่อถูกแสงทำให้เกิดไฮดรอกซิล เรดิเคิล เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง(halrtife) ภายในเวลาน้อยกว่า 1-10 วัน เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าสามารถเอาออกจากบรรยากาศได้ง่ายโดยเกิดการตกตะกอนแบบเปียก

                – ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม : ไม่พบข้อมูลที่ต้องการค้นหา

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 2012

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : หลอดชนิด Sillica gel tube 150 mg /75 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01 ถึง 1 ลิตร

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 2 ลิตร สูงสุด 100 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 19

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Methanol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Methanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Methyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Wood alcohol; Carbinol; Methylol; Wood; Columbian spirits; Colonial spirit; Columbian spirit; Methyl hydroxide; Monohydroxymethane; Pyroxylic spirit; Wood naphtha; Wood spirit; Methyl Alcohol (Methanol);

        สูตรโมเลกุล      CH4O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์139

        รหัส IMO    12286089_10207247452278075_1668521281_n12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        67-56-1

        รหัส EC NO.    603-001-01-X

        UN/ID No.      1230            

        รหัส RTECS     –

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-659-6

        ชื่อวงศ์                   

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า         ENDURA MANUFACTURING CO.LTD.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 67-56-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นตัวทำละลาย (SOLVENT)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    5600 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   83840/ 4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     6000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        200(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       200(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      250(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใสไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :   32

        จุดเดือด(0ซ.) : 64.6

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -97.8

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.79

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.1

        ความหนืด(mPa.sec) :       –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    96 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     1.31

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.76 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตา จมูก ลำคอ และทางเดินหายใจ กดระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ง่วงนอน ถ้าสัมผัสปริมาณมากจะทำให้อาการโคม่าและตายได้ เนื่องจากระบบหายใจล้มเหลว

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ไอระเหย ของเหลวของสารนี้ จะทำให้เกิดการสูญเสียชั้นไขมันของผิวหนัง ทำให้ผิวหนังแห้ง แตก และเกิดผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เยื่อเมือกของปากและลำคอ ทำให้เกิดอาการไอ ท้องร่วง ปวดท้อง ปวดศีรษะ และง่วงซึม

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และทำให้เยื่อเมือกตาอักเสบ เกิดตาแดง และสายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ถ้าสัมผัสสารนี้บ่อยๆ และเป็นเวลานาน จะทำให้ผิวหนังอักเสบ และสารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังมีผลทำให้ระบบประสาทส่วนกลางถูกกดทำให้ปวดศีรษะ ง่วงนอน เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และการสัมผัสบริมาณมาก อาจทำให้อาการโคม่าและตายได้ มีผลกระทบต่อการมองเห็น โดยปกติอาการจะรุนแรงขึ้นหลังจาการสัมผัส 12-18 ชั่วโมง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง โลหะอัลคาไลท์ กรดซัลฟูริกและกรดไนตริกเข้มข้น แอลดีไฮด์ และแอซัลคลอไรด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน ประกายไฟ และแหล่งจุดติดไฟอื่นๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          12.2

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    464

        ค่า LEL % :     5.5

        UEL % :        36.5

        NFPA Code :    12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง :  น้ำฉีดเป็นฝอย

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสกับเปลวไฟ และลดการฟุ้งกระจายของไอระเหย

                – อย่าใช้น้ำฉีดเป็นลำเพราะจะทำให้เปลวไฟแพร่กระจาย

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – สารอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้ : คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดซ์ และแหล่งจุดติดไฟ

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Methanol

                ประเภทอันตราย : 3.2 (6.2)

                หมายเลข UN : UN 1230

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ระบายอากาศในบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งทั้งหมดของการจุดติดไฟออกไป

        – ดูดซับสารที่หกรั่วไหลด้วยปูนขาวแห้ง ทราย หรือโซดาแอ๊ซ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 6000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) ซึ่งมีการทำงานของอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ การปฐมพยาบาล ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติและรู้สึกตัวอยู่ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 1/2-1 แก้ว เพื่อเจือจางสาร ถ้าผู้ป่วยอาเจียนให้ก้มศีรษะให้ต่ำลงเพื่อหลีกเลี่ยงการหายใจเอาอาเจียนเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ไหม่ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที โดยเปิดเปลือกตาให้กว้างขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  เอทธานอลจะช่วยเผาผลาญเมทธานอล ควรให้กิน 50% เอทธานอล 1/2-1 ML ต่อน้ำหนักตัว 1 kg ทุกๆ 2-4 ชั่วโมง เป็นเวลา 4 วัน

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – สารนี้สามารถเกิดการย่อยสลายทางชีวภาพได้ง่าย

        – สารนี้คาดว่าจะไม่ก่อให้เกิดการสะสมทางชีวภาพ

        – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เป็นพิษต่อปลา และแพลงค์ตอน

        – เมื่อรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ จะก่อให้เกิดสารผสมที่มีพิษ ไม่สามารถเจือจางได้ และอาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ำ ให้ไอของสารที่ระเบิดได้ ไม่ส่งผลอันตรายต่อระบบบำบัดน้ำทิ้ง หากมีการใช้และจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 2000, 3800

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ Silica gel

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.02 ถึง 2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด ต่ำสุด 1 ลิตร สูงสุด 5 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 16

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Mesitylene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   1,3,5-Trimethylbenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Sym-Trimethylbenzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Mesitylene ; Symmetrical Trimethylbenzene

        สูตรโมเลกุล      C9H12

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์138

        รหัส IMO    12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        108-67-8

        รหัส EC NO.    601-025-00-5

        UN/ID No.      2325            

        รหัส RTECS     OX 6825000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-604-4

        ชื่อวงศ์                    

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          NIOSH

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 108-67-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :   –

        LC50(มก./ม3) :              24/ – ชั่วโมง (หนู)

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       25(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      25(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : สารอะโรมาติก

        นน.โมเลกุล :   120.2

        จุดเดือด(0ซ.) : 165

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -45

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.86

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.1

        ความหนืด(mPa.sec) :      0.95

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    2ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.002

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     4.92

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.203 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : สารนี้กลั่นได้โดยไม่สลายตัวที่ความดันปกติ

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก คอ ระบบทางเดินหายใจ ทำให้หลอดลมอักเสบ มีอาการโลหิตจาง วิงเวียนศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน น้ำท่วมปอดเนื่องจากสารเคมี

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ผิวแห้ง

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้หลอดลมอักเสบ มีอาการโลหิตจาง วิงเวียนศีรษะ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน น้ำท่วมปอดเนื่องจากสารเคมี

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  สารนี้ทำลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบประสาทส่วนกลาง เลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารออกซิไดซ์ กรดไนตริก

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: เก็บห่างจากแหล่งกำเนิดไฟ ประกายไฟ เปลวไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          44

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    550

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    020

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงดับเพลิง โฟม AFFF โฟมทั่วไฟ คาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้ไวไฟ

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิดที่อุณหภูมิมากกว่า 44 องศาเซลเซียส

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากเปลวไฟ ประกายไฟ

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดซ์อย่างแรง

                – เก็บในที่อุณหภูมิต่ำกว่า 44 องศาเซลเซียส

                – ใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ และประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ต่อภาชนะบรรจุลงดิน

                – ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณเก็บสารเคมี

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : 2325

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุดูดซับที่เฉื่อย แล้วนำไปเก็บในบริเวณที่ปลอดภัย

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ จัดให้นั่งในท่าสบายนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำอย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียนนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที (ถอดคอนแทคเลนส์ออกถ้าสามารถทำได้) นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

        – จะไม่ก่อให้เกิดผลต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 17

        DOT Guide :   129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Furaldehyde

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Furfural

        ชื่อเคมีทั่วไป     Furfural

        ชื่อพ้องอื่นๆ      2-Furaldehyde; Furfuraldehyde; 2-Furancarboxaldehyde; Fural; Pyromucic aldehyde; 2-Furanaldehyde; 2-Furancarbonal; 2-Furfural; Alpha-furole; 2-Furylmethanal; Artificial ant oil; Artificial oil of ants; U1199; Fufural; Furaldehyde; 2-Formyl furan; Alpha-Furfuraldehyde; Furfural

        สูตรโมเลกุล      C5H4O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์136

        รหัส IMO   12286089_10207247452278075_1668521281_n12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        98-01-1

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      1199            

        รหัส RTECS     –

        รหัส EUEINECS/ELINCS         202-627-7

        ชื่อวงศ์                    

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 98-01-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :   65  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   175/ 6 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     100(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        2(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      2(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี -เหลืองอ่อน

        กลิ่น : คล้ายอัลมอนด์

        นน.โมเลกุล :   96.09

        จุดเดือด(0ซ.) :  162

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -39

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.3

        ความหนืด(mPa.sec) :      –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    1 ที่ 18.5 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  8

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     3.93

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :   การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือก ทางเดินหายใจส่วนบน เกิดอาการเจ็บคอ หายใจลำบาก ปวดศีรษะ ที่ความเข้มข้นสูง ๆ จะมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ปอดบวม และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนัง ภูมิแพ้ สารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังได้ และจะส่งผลต่อระบบของร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้เป็นพิษสูง จะทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้ผิดปกติ ประสาทถูกกด ปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคือง น้ำตาไหล คัน ตาแดง ตาบวม

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  อาจจะเป็นสารก่อมะเร็งได้ จากการศึกษาพบว่าเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ การสัมผัสถูกสารนี้นานๆจะทำให้ระบบประสาทส่วนกลางผิดปกติ ชักอัมพาต และเมื่อรับเป็นเวลานาน จะทำให้อันตรายต่อตับ ไต

        สัมผัสเรื้อรัง : ทำให้ลิ้นชา ไม่รู้สึกรสชาติ ปวดศีรษะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภูมิห้อง และอยู่ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท จะเปลี่ยนเป็นสีเข้ม เมื่อสัมผัสถูกแสง

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง กรด เบส

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : การสลายตัว เมื่อได้รับความร้อนจะทำให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรง เมื่อถูกความร้อน หรือสัมผัสกับกรดแร่ หรืออัลคาไลท์

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          60

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    315

        ค่า LEL % :     2.1

        UEL % :        19.3

        NFPA Code :    12309167_10207280591466534_937291503_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือคาร์บอนไดออกไซด์

                – เป็นของเหลวและก๊าซไวไฟ

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศ สามารถระเบิดได้ภายในขีดจำกัดของการติดไฟ และอุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                – จะทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับสารออกซิไดซ์ กรดแก่ เบส ทำให้เกิดเพลิงไหม้และระเบิดได้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท อาจเกิดระเบิดแตกได้เมื่อได้รับความร้อน

                – ไวต่อการเกิดประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – การฉีดน้ำเป็นฝอย จะช่วยในการควบคุมและหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้ และฉีดล้างสารที่หกรั่วไหลให้ออกห่างจากการสัมผัสกับเพลิง และเพื่อเจือจางสารที่หกรั่วไหลให้เป็นส่วนผสมที่ไม่ไวไฟ

                – สวมใส่ชุดป้องกันอันตราย และอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก NIOSH พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – ป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บภายในที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากพื้นที่ที่อาจเกิดอัคคีภัยได้ และห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ต่อสายดินและสายต่อพ่วงระหว่างถังในขณะที่ถ่ายเทสารเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟฟ้าสถิตย์

                – เก็บและใช้ในบริเวณห้ามสูบบุหรี่

                – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ รวมทั้งตัวระบายอกาศชนิดป้องกันการระเบิดได้

                – ภาชนะบรรจุนี้อาจจะเป็นอันตรายได้เมื่อเป็นถังเปล่า เนื่องจาก มีกากสารเคมีตกค้าง เช่น ไอระเหย ของเหลว

                – ให้สังเกตุดูป้ายเตือนอันตรายทุกชนิดสำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : FURFURALDEHYDES

                ประเภทอันตราย : 6.1, 3

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ระบายอากาศในบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – เคลื่อนย้ายแหล่งของการจุดติดไฟออกให้หมด

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ( PPD / PPE ) ให้เหมาะสม

        – กั้นแยกพื้นที่อันตราย

        – ควบคุม / ป้องกันบุคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็น และไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเข้าไป

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บกักของเหลวใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียสารเคมี เพื่อนำไปกำจัดต่อไป ห้ามใช้สารดูดซับที่ติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ ถ้าสารที่หกรั่วไหลและไม่ติดไฟ ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อลดการแพร่กระจายของไอระเหย และเพื่อป้องกันบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดไล่ส่วนที่หกรั่วไหลให้ออกห่างจากการสัมผัสถูกเพลิงไหม้

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n 12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm. : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.=10 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator)โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.=10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน100 ppm. : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.=25 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.= 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge)โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.= 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.= 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และยังมีสติอยู่ให้ดื่มน้ำหรือน้ำปริมาณมาก ๆ อย่าให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทำความสะอาดด้วยสบู่ และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ล้างทำความสะอาดก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตา ขึ้น-ลง บ่อย ๆ เพื่อให้มั่นในว่าล้างออกหมด นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

        – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2529

        OSHA NO. :   72

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg/ 50mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : สูงสุด 180 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  19

        DOT Guide :   132

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Ethyl Acetate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   –

        ชื่อเคมีทั่วไป     Ethyl acetate

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Ethyl acetic ester; Acetoxyethane; Acetic ether; Vinegar naphtha; Acetidin; Acetic ester

        สูตรโมเลกุล      C4H8O2

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์135

        รหัส IMO    12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        141-78-6

        รหัส EC NO.    607-022-00-5

        UN/ID No.      1173            

        รหัส RTECS     AH 5425000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         205-500-4

        ชื่อวงศ์                    

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 141-78-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ทำเครื่องสำอางค์ , ใช้ในการกลั่นแยก, ใช้เป็นสารละลาย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  5620 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) : 200/ – ชั่วโมง(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     400(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        2000(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      400(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      1400(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส

        กลิ่น : หอม

        นน.โมเลกุล :   88.11

        จุดเดือด(0ซ.) :  77.2

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -83

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.9018

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.0

        ความหนืด(mPa.sec) :      0.44

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  75

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  7.9 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    7.4 ที่

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    3.60

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.28 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : สารนี้ละลายในแอลกอฮอล์ อีเทอร์ กลีเซอรีน ตัวทำละลายอินทรีย์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  จะเป็นอันตรายถ้าหายใจเข้าไป ไอระเหยที่ความเข้มข้นสูง ๆ จะทำให้ปวดศีรษะ มึนงง หมดสติ

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสทางผิวหนังทำให้เกิดการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัส และเกิดการทำลายชั้นไขมันของผิวหนังอย่างรุนแรง

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนกินเข้าไปจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ง่วงนอน หมดสติ

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  ไม่เป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง ตามรายละเอียด IARC ,NTP, OSHA และสารนี้มีผลทำลายดวงตา ผิวหนัง และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด สารออกซิไดซ์ สารอัลคาไลท์ที่มีปฏิกิริยารุนแรง ไนเตรท

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ควรหลีกเลี่ยงความร้อน สัมผัสกับแหล่งจุดติดไฟ จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับโพแทสเซียม เตริกบิวทอกไซด์ ปฏิกิริยารุนแรงกับ กรดคลอโรซัลโฟนิค

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          -4.44

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    460

        ค่า LEL % :     2.20

        UEL % :        11.00  

        NFPA Code :    

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิงที่เหมาะสมเมื่อเกิดอัคคีภัย คือ แอลกอฮอล์ โฟม คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเมื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้

                – ขั้นตอนการปฏิบัติการดับเพลิง ควรสวมใส่เครื่องช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัวและชุดป้องกันสารเคมี

                – ไอระหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้ผสมกับอากาสส ประกายไฟอาจจะเกิดขึ้นได้ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ประกายไฟทั่ว ๆไปที่เกิดขึ้นเอง หรืออุณหภูมิของประกายไฟ อุณหภูมิประกายไฟจะลดลงเมื่อปริมาณไอระเหยเพิ่มขึ้นและเวลาที่ไอระเหยสัมผัสกับอากาศและความดันที่เปลี่ยนแปลง

                – ประกายไฟอาจจะเกิดที่อุณหภูมิสูงเฉพาะกับห้องปฏิบัติงานภายใต้สูญญากาศ ถ้าอากาศเข้าไปอย่างทันทีทันใดหรือการปฏิบัติงานภายใต้ความดันสูงถ้าไอระเหยออกมาทันใด หรือการเกิดขึ้นที่บริเวณแอทโมสเฟีย

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท

                – เก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิเย็น แห้ง

                – เก็บไว้ในที่มีการระบายอากาศ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งที่เกิดประกายไฟ และสารออกซิไดซ์

                – สารที่เหลืออยู่ในภาชนะอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้ ควรใช้อย่างระมัดระวัง

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Ethyl Acetate

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : 1173

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล การตอบโต้กรณีหกรั่วไหล

        – อพยพคนที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดออกจากพื้นที่

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันให้เหมาะสมที่ระบุไว้ในบัญชีรายชื่อใต้เปิด / การป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

        – ขจัดแหล่งการจุดติดไฟใดๆออกไฟจนกระทั่งพื้นที่ดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดหรืออันตรายไฟ

        – บรรจุส่วนที่หกรั่วไหลและแยกออกจากแหล่งสารเคมีนั้น

        – ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บและบรรจุสารสำหรับการนำไปกำจัดให้เหมาะสม

        – ปฏิบัติตามกฏ กฎหมาย และกฏระเบียบของทางราชการในการรายงานการรั่วไหลของสารเคมี

        – ต้องปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการอย่างเคร่งครัด

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

               แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile, Polyvinyl Chloride

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งมีCartridge พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ให้ผู้ป่วยพักผ่อน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำประมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         เมื่อรั่วไหลลงสู่น้ำ : สารนี้มีความเป็นพิษต่อปลาและแพลงค์ตอน อาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ำ ให้ไอของสารที่ระเบิดได้

                – สารนี้สามารถเกิดการสลายตัวทางชีวภาพได้ดี

                – สารนี้จะไม่ส่งผลต่อระบบบำบัดน้ำทิ้ง หากมีการใช้และจัดการสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1457

        OSHA NO. :   7

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg/ 50 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01-0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 0.1 ลิตร, สูงสุด 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  18

        DOT Guide :   129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557