คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุออกซิไดซ์ และออกแกนิคเปอร์ออกไซด์

Sodium Tetraborate Decahydrate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium Tetraborate Decahydrate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Borax

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Borates, Tetrasodium Salts, Decahydrate; Sodium Diborate Decahydrate; Tetraborate, decahydrade; Disodium tetraborate decahydrate; Sodium borate decahydrate; Fused borax; Borax glass; Fused sodium borate; Borax decahydrate; Borascu; Borax (B4Na2O7.10H2O); Boricin; Gerstley borate; Sodium pyroborate decahydrate; Sodium tetraborate decahydrate (Na2B4O7.10H2O); Solubor; SODIUM BORATES;

        สูตรโมเลกุล    Na2B4O7.10H2O

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์67

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.      1303-96-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  1458

        รหัส RTECS  VZ 2275000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-540-4

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                1303-96-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารฆ่ามด ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบเงา อีนาเมล สารทำความสะอาดและบัดกรีโลหะ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  2660 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       10(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :     ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :    กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : ขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  381.42

        จุดเดือด(0ซ.) :  320

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 75

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  54 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  –

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   –

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือกและทางเดินหายใจส่วนบน ไอ คลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และอาจเป็นอันตราย เช่นเดียวกับการกลืนหรือกินเข้าไป ถ้าสารนี้ถูกดูดซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดท้อง หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ลำตัวเขียวคล้ำ เพ้อคลั่ง หมดสติ ชัก

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ มีรายงานว่าได้รับสารนี้เข้าไปในทารก 5 กรัม อาจถึงเสียชีวิตได้ และ 5-20 กรัม สำหรับผู้ใหญ่  อวัยวะเป้าหมาย ตา ระบบทางเดินหายใจ ระบประสาทส่วนกลาง ไต อัณฑะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับโปแตสเซียม กรดแอนไฮดรายส์ Zirconium กรดแก่

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   โบรอนออกไซด์ Na2O

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง และใช้โฟมชนิดที่เหมาะสม

                – เป็นสารไม่ติดไฟ

                – การดับเพลิงขั้นรุนแรงให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว พร้อมอุปกรณ์สารเคมีสัมผัสถูกตา และผิวหนัง ในขณะเกิดเพลิงไหม้จะทำให้เกิดฟูม/ก๊าซพิษออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากกรด สารที่เข้ากันไม่ได้

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเอาฝุ่นของสารนี้เข้าไป การสัมผัสถูกตา ผิวหนัง ใช้หรือถ่ายเทเฉพาะในที่มีตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น ติดตั้งที่อาบน้ำ และที่ฉีดล้างฉุกเฉิน ล้างทำความสะอาดให้ทั่วหลังจากการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ให้อพยพบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากพื้นที่

        – สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเท้าบูท และถุงมือยาง

        – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลใส่ในถุงบรรจุสำหรับนำไปกำจัด เป็นกากของเสียต่อไป

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ระบายอากาศและล้างทำความสะอาดหลังจากการเก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด นำส่งไปพบแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – สารนี้อาจเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ

                  –  อย่าปล่อยสารนี้ลงสู่แหล่งน้ำ ดิน สิ่งแวดล้อม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   0500

        OSHA NO. : ID 125 G

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง                 

        วิธีการวิเคราะห์ :       ชั่งน้ำหนัก

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                 – การเก็บตัวอย่างใช้ : 0.5 um PVC membrane

                 – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1.7 ถึง 2.5 ลิตรต่อนาที

                 – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 20 ลิตร สูงสุด 400 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        30

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium perchlorate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium perchlorate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium perchlorate anhydrous

        ชื่อพ้องอื่นๆ  Natriumperchloraat (dutch) ; Natriumperchlorat (german) ; Perchlorate de sodium (french) ; Sodio (perclorato di) (italian) ; Sodium (perchlorate de) (french)

        สูตรโมเลกุล    ClNaO4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์66

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.      7601-89-0

        รหัส EC NO.  017-010-00-6

        UN/ID No.  1502

        รหัส RTECS    SC 9800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-511-9

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7601-89-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารในการเตรียมคลอรีน (Chlorinating agent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  2100 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 2

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : ขาวถึงไม่มีสี

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  122.5

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  482

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    –

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : –

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.01

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.20 ppm ที่25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจส่วนบน และต่อเยื่อเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกินหรือกลืนสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดอันตราย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดก่อระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : อวัยวะเป้าหมาย : ต่อมไทรอยด์ เลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ทราบลักษณะของสารที่เกิดจากการสลายตัว

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารอินทรีย์ กรดแก่ ทำให้เกิดส่วนผสมที่ระเบิดได้ กับผงโลหะละเอียดๆ สารรีดิวซ์แมกนีเซียม

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้ฉีดน้ำเป็นฝอย โฟมที่เหมาะสม

                – สารออกซิไดซ์อย่างแรง : อาจทำให้เกิดเพลิงไหม้และระเบิดได้ เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดก๊าซพิษออกมา

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีสัมผัสผิวหนังและตา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บห่างจากสารติดไฟได้

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศที่ดี

                – อย่าเก็บไว้ใกล้หรือไม่ให้สัมผัสกับเสื้อผ้าและวัสดุติดไฟได้ อื่นๆ

                –  ล้างทำความสะอาดหลังจากการเคลื่อนย้าย

                –  การใช้งานสารนี้ให้ใช้งานในตู้ดูดควันเท่านั้น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจ แว่นตานิรภัยป้องกันสารเคมี รองเท้าบูทยาง และถุงมือยาง

        – ปิดคลุมสารด้วยปูนขาวแห้ง ทราย หรือโซดาแอ็ส

        – เก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดโดยใช้อุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟและเคลื่อนย้ายออกไปไว้ภายนอกอาคาร

        – ระบายอากาศพื้นที่และล้างบริเวณหกรั่วไหลหลังจากเก็บกวาดสารเคมีเรียบร้อยแล้ว

        – การกำจัดให้ติดต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการกำจัดกากของเสียสารนี้ และให้ปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมของรัฐและท้องถิ่น

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่ที่อากาศบริสุทธิ์ หากผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอดและหากมีการหายใจติดขัดให้ทำการให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนกินเข้าไป และผู้ป่วยยังสติอยู่ให้ทำการบ้วนปากด้วยน้ำ และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังออกทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมทั้งถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดน้ำล้างตาทันที ด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที และเพื่อให้แน่ใจว่าสารปนเปื้อนถูกล้างออกไปหมดให้ใช้ นิ้วถ่างเปลือกตาแล้วทำการล้างตาซ้ำอีกครั้ง

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และการจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :       30

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium dichromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Disodium dichromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium dichromate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Dichromic acid, disodium salt ; Chromic acid (H2Cr2O7), disodium salt; Sodium Bichromate – Carc.;

        สูตรโมเลกุล    Na2Cr2O7.2H2O

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์61

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      10588-01-9

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  3085

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS       –

        ชื่อวงศ์                –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า     JT.BAKER Inc., SAF-T.DATA

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                10588-01-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในกระบวนการแยกสารด้วยไฟฟ้า (eletrochemical) และทำให้สารแขวนลอย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    50 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       0.0082(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :    0.0041(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผลึก ของแข็ง

        สี : แดงส้ม

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  298.0

        จุดเดือด(0ซ.) : 400

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  357

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.35

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  73 ที่ 0 ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  3.5

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm = 0.082

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 12.195 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะก่อให้เกิดเนื้อเยื่อของเยื่อบุและทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรง อาจทำให้เกิดแผลเปื่อยหรือทำให้โพรงจมูกทะลุได้ จะก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด อาจทำให้เกิดอาการหอบหือ และการสัมผัสสารที่ความเข้มข้นสูงอาจทำให้เกิดน้ำท่วมปอดได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง เนื่องจากสารนี้มีทธิ์กัดกร่อน จะก่อให้เกิดผื่นแดง ปวด และอาจเกิดแผลไหม้รุนแรงได้ ฝุ่นและสารละลายเข้มข้นของสารนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคือง การสัมผัสกับผิวหนังที่แตกจะก่อให้เกิดแผลพุพอง หรือแผลเปื่อยได้ การดูดซึมของสารนี้ผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกายจะก่อให้เกิดพิษ และเกิดผลกระทบต่อการทำงานของตับและไต รวมทั้งอาจทำให้เกิดภาวะภูมิไวต่อการสัมผัสทางผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินสารนี้เข้าไปจะก่อให้เกิดแผลไหม้บริเวณปาก ลำคอ และกระเพาะอาหาร และอาจทำให้เสียชีวิตได้ ก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ อาเจียน ท้องร่วง กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ เส้นเลือดหดตัว วิงเวียนศีรษะ กระหายน้ำ เป็นตะคริว หมดสติ เกิดความผิดปกติของการสูบฉีดโลหิต เป็นไข้ ทำลายตับ และอาจทำให้เกิดภาวะไตล้มเหลวอย่างเฉียบพลันได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดอาการตาแดง สายตาพร่ามัว ปวดตา และเกิดแผลไหม้ของเนื้อเยื่ออย่างรุนแรง อาจทำให้เกิดการทำลายกระจกตา และทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (NTP)

                – การสัมผัสสารเป็นระยะเวลานานหรือการสัมผัสสารซ้ำๆ จะทำให้เกิดแผลเปื่อยและแผลทะลุของโพรงจมูก ระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ทำลายตับและไต เกิดแผลเปื่อยหรือแผลพุพองที่ผิวหนัง การเกิดแผลพุพองอาการเริ่มแรกจะไม่มีอาการเจ็บปวดแต่สารจะค่อยๆเกิดการทำลายลึกเข้าจนถึงกระดูก , สารนี้เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บรักษา

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไฮดรอกซีน อะซิติกแอนไฮดราย เอททานอล ไตรไนโตรโทลูอีน ไฮดรอกซีลามัน กรดเข้มข้น สารที่ไวไฟ สารอินทรีย์หรือสารที่สามารเกิดปฏิกิริยาออกซิไดส์ได้ง่าย เช่น กระดาษ ไม้ ซัลเฟอร์ อลูมินัม พลาสติก

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ก๊าซโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   311

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดส์อย่างแรง ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนกับสารรีดิวซ์ทำให้เกิดการลุกติดไฟได้

                – การกระแทกอย่างแรง การสัมผัสถูกความร้อน การเสียดสี หรือการสัมผัสกับประกายไฟอาจก่อให้เกิดการระเบิดได้

                – ให้ใช้น้ำฉีดหล่อเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้

                – ใช้น้ำฉีดหล่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้จนกระทั้งไฟดับหมด

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในบริเวณที่แห้งและเก็บแยกออกจากสารที่สามารถติดไฟได้ สารอินทรีย์ สารที่สามารถออกซิไดส์ได้ง่าย

                – การเคลื่อนย้ายและการเก็บรักษาจะต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

        สถานที่เก็บ

                – หลีกเลี่ยงการเก็บสารนี้ไว้บนพื้นไม้

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายโดยเฉพาะการเข้าไปบำรุงรักษารอยแตกร้าวภายใน หรือที่ซึ่งมีการสัมผัสสารมากเกินกว่าที่กำหนด

                – ให้ทำการล้างมือทุกครั้งก่อนการกินอาหาร ดื่มน้ำ หรือสูบบุหรี่

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง อาจเป็นอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Oxidation Solid , Corrosive , N.O.S. (Sodium bichromate)

                ประเภทอันตราย :  5.1 , 8

                หมายเลข UN : UN 3085

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้จัดให้มีการระบายอากาศในบริเวณที่หกรั่วไหล

        -เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        -ให้ใช้การดูดหรือการกวาดขณะชื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        -ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฎิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย แล้วนำส่งไบพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำปริมาณมาก ห้ามนำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ และให้ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – เมื่อรั่วไหลสู่ดิน สารนี้จะถูกชะลงสู่น้ำใต้ดินได้

                  – เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ คาดว่าสารนี้ไม่สามารถระเหยได้

                  – สารนี้จะสะสมในสิ่งมีชีวิตได้ในบางช่วงความเข้มข้น

                  – เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ สารนี้อาจเกิดการสลายตัวแบบเปียกออกจากอากาศได้

                  – คาดว่าสารนี้จะเป็นพิษต่อสัตว์และพืชน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   7024      

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง             

        วิธีการวิเคราะห์ :       อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 0.8 um Cellulose ester membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ถึง 3 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :       –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Silver nitrate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Silver nitrate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Silver nitrate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Nitric acid, silver (I) salt; Lunar caustic; Silver (I) nitrate (1:1); Silbernitrat; AgNO3

        สูตรโมเลกุล    AgSO4  

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์55

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      7761-88-8

        รหัส EC NO.  047-001-00-2

        UN/ID No.  1493

        รหัส RTECS    VW 4725000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-853-9

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า EM Science

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7761-88-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้เป็นยาฆ่าเชื้อโรค , ใช้ในการชุบโลหะ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    50 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.01(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.01(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  169.87

        จุดเดือด(0ซ.) :  440

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   212

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      4.35

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 5.8

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  71 ที่  – 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5.4-6.4 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.95

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.15 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองต่อเยื่อเมือกและทางเดินหายใจอาจทำให้ปอดถูกทำลายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการระคายเคืองและแผลไหม้ต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อเมือกและทางเดินหายใจอาจทำให้ปอดอาจถูกทำลายได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคืองและแผลไหม้ต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลาย ดวงตา ประสาท เลือด ปอด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  Halide arsenite antimony salt

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  สัมผัสกับอากาศและแสง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของไนโตรเจนซิลเวอร์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   100

         สารดับเพลิง : กรณีที่เกิดเพลิงไหม้ให้ใช้สารเคมีที่เหมาะสมกับประเภทของเพลิงบริเวณใกล้เคียง

                – ขั้นตอนในการดับเพลิง ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมี

                – จะเพิ่มความไวไฟของการเผาไหม้ขึ้นหรือทำให้สามารถออกซิไดซ์ได้ง่ายขึ้น

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท เก็บไว้ในที่อุณหภูมิเย็นและมีการระบายอากาศที่ดี เก็บห่างจากวัสดุติดไฟหรือออกซิไดซ์ ไม่ควรสูดดมฝุ่นละออง อย่าให้เข้าตาหรือสัมผัสกับผิวหนังและเสื้อผ้า

        สถานที่เก็บ : ไม่ระบุไว้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Silver nitrate

                ประเภทอันตราย :  5.1

                หมายเลข UN : UN 1493

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม

        – ให้ตัดแหล่งจุดติดไฟที่จะทำให้เกิดอันตรายจากการติดไฟและการระเบิดทั้งหมด

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยผายปอดทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือกลืนเข้าไป อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ถ้ามีสติให้ดื่มน้ำตามมากๆ และให้อยู่ในความดูแลของแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างออกให้ทั่วด้วยสบู่และน้ำ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างให้ทั่วทันทีโดยให้น้ำไหลผ่านอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ซิลเวอร์ไอออนเป็นพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ในน้ำ , แบคทีเรีย , สำหรับไนเตรทอาจเป็นปัจจัยทำให้น้ำขาดออกซิเจนเป็นอันตรายต่อน้ำดื่ม , ปลา

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :      

        ข้อมูลอื่น ๆ :     –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        30

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium bromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium bromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Bromic acid, potassium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Potassium Bromate Baher Anal ACS Rgnt;

        สูตรโมเลกุล    KBrO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์43

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.      7758-01-2

        รหัส EC NO.  035-003-00-6

        UN/ID No.    1484

        รหัส RTECS    EF 8725000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-829-8

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7758-01-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้ผลิตยา, ใช้ทำบล็อกที่แกะสลัก
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    321(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :   –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล : 167.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  370

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   434

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :                        3.27

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  7 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5-9 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.83

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.15 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – อุณหภูมิการสลายตัว >430 องศาเซลเซียส

                – ละลายในน้ำ

                – ไม่ละลายใน Me2CO

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือก ทำให้เกิดอาการไอ หายใจถี่รัว เวียนศรีษะ ปวดศรีษะ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดอาการระคายต่อผิวหนังและเยื่อผิวหนัง เป็นผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป อาจทำให้เวียนศรีษะ คลื่นไส้ ปวดท้อง หมดสติ ผิวหนังสีคล้ำ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง ปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารประกอบของสารนี้กับโบรมีนมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางและเลือด ซึ่งส่งผลให้ไตและกระเพาะปัสสาวะบาดเจ็บได้ เป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม II และเกิดปฏิกิริยา     

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  การสลายตัวจะไม่เกิดขึ้นถ้ามีการใช้ และการเก็บ ตามข้อกำหนดที่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไฮโดรเจนโบรไมด์ ออกซิเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะทำปฏิกิริยากับสารรีดิวซิ่ง และสารไวไฟ

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้วิธีดับเพลิงให้เหมาะสมกับประเภทเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่เป็นสารไวไฟ

                – สารนี้เป็นออกซิไดซ์ ความร้อนของการเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวส์ซิ่ง หรือสารติดไฟได้ จะทำให้เกิดลุกติดไฟขึ้น

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีฝาปิดมิดชิด

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่ป้องกันการจุดติดไฟ

                – เก็บแยกห่างจากสารรีดิวซ์และสารที่สามารถติดไฟได้

                – ต้องมั่นใจว่ามีการระบายอากาศที่ดีในบริเวณสถานที่ทำงาน

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุและเปิดอย่างระมัดระวัง

                – สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์และความร้อนจากการทำปฏิกิริยารีดิวซิ่งหรือสารติดไฟได้ จะทำให้เกิดการติดไฟขึ้น

                – สารนี้สามารถลดอุณหภูมิการจุดติดไฟสารไวไฟ

                – เก็บห่างจากสารไวไฟ สารรีดิวซิ่ง

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : โปแตสเซียมโบรเมท

                ประเภทอันตราย :  5.1

                หมายเลข UN : UN 1484

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ข้อควรระวังความปลอดภัยจากอุบัติเหตุรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

        – อพยพคนออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ควบคุมบุคคลที่ไม่มีการป้องกันอันตรายให้เข้าในบริเวณนี้

        – ต้องแน่ใจว่ามีวิธีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        – อย่าปล่อยให้สารเคมีรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยปราศจากการอนุญาตของหน่วยงานราชการ

        การพิจารณาการกำจัด : ปรึกษากับหน่วยราชการ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วยรักษาคนไข้ให้อบอุ่น ขอคำปรึกษาทางการแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ให้ขอความช่วยเหลือทางการแพทย์ทันที หรือนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่โดยให้น้ำไหลผ่าน

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้เปิดตากว้าง ๆ ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ เป็นเวลานาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที ให้ปรึกษาแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ, น้ำเสีย หรือดิน อาจส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ หากมีการจัดการหรือกำจัดอย่างไม่เหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :     –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        29

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Manganese dioxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Manganese (vi) oxide; Manganese (IV) dioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Manganese dioxide; Manganese peroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Manganese black ; Cement; Black manganese oxide; Cement black; Manganese Black; Manganese Peroxide; Black Dioxide; Manganese oxide

        สูตรโมเลกุล      MnO2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์33

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.        1313-13-9

        รหัส EC NO.  025-001-00-3

        UN/ID No.      1479       

        รหัส RTECS    OP 0350000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-202-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1313-13-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ผลิตสารทำความสะอาด การผลิตแบตเตอรี่ และใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    >3478 (หนู) (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.41(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.056(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :          กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผง

        สี : เทา, ดำ, น้ำตาลและดำ

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  86.94

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 533

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        5.0

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลาย ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.56

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.28 ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้ไม่ละลายในน้ำ ไนตริก และกรดซัลฟิวริกที่เย็น       

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปทำให้เกิดอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หรือไข้ที่เกิดจากการสัมผัสไอของโลหะ จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะไม่มีผลต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป ไม่ระบุไว้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง เจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อาการเรื้อรัง : การได้รับแมงกานีสซึ่งเป็นสารพิษโดยการสัมผัสทางการหายใจ และการกลืนกินเข้าไปเป็นเวลานานๆ ทำให้มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง ในระยะเริ่มต้นจะมีอาการเชื่องช้า ง่วงนอน ขาไม่มีแรง ในกรณีที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการทางอารมณ์แปรปรวน กล้ามเนื้อหดเกร็ง ขณะเดินเคลื่อนไหว อาการจะทรุดลง ผู้ป่วยมีอาการคล้ายกับโรค Parkinson มีผลกระทบกับระบบหมุนเวียนเลือดภายในไต และผลกระทบจากการได้รับสารแมงกานีสเรื้อรังอาจจะทำให้เกิดอาการผิดปกติทางจิตได้ การหายใจเข้าไปเป็นระยะเวลานานๆ เป็นสาเหตุทำให้เป็นอันตรายต่อปอด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้การใช้และการเก็บปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่สามารถเกิดการออกซิไดซ์ได้ง่าย ได้แก่ ซัลเฟอร์ซัลไฟล์ ฟอสไฟด์ ไฮโปฟอสไฟท์ คลอเรต เปอร์เซียมเอไซด์ คลอรีนไตรฟูโอไรด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ควรให้สารเคมีหลีกเลี่ยงจากความร้อน เปลวไฟ แหล่งที่ทำให้เกิดประกายไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ควันพิษจากสารเคมีอาจจะมาจากการสลายตัวจากความร้อน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่มีความเป็นอันตราย ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก จะเกิดเป็นรูปก๊าซคลอโรซีฟ คลอไรด์ การให้ความร้อนหรือการสลายตัวของสารเคมีออกแกนนิก สามารถทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้ ผงเคมีแห้ง หรือ คาณ์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้ไม่ลุกไหม้ติดไฟ แต่สารเคมีเป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรงและเกิดปฏิกิริยาความร้อนกับสารรีคิวซิงซ์ หรือลุกติดไฟได้ทำให้เกิดการจุดติดไฟขึ้น

                – เมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะก่อให้เกิดการเผาไหม้รุนแรงอย่างมาก

                – ในการเกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศภายในตัว(SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บไว้ในภาชนะที่มิดชิด และเก็บไว้ในที่ที่มีความเย็น แห้ง และพื้นที่ที่มีการระบายอากาศ เพื่อป้องกันปฏิกิริยา

        สถานที่เก็บ :

                – ควรเก็บแยกออกจากแหล่งที่มีความร้อน และที่มีการจุดประกายไฟ

                – หลีกเลี่ยงการเก็บรักษาที่เป็นอันตรายต่อร่างกายและที่มีความชื้น

                – หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม้ และให้แยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ สารที่สามารถเกิดไฟได้ สารออกแกนิค หรือสารที่สามารถเกิดการออกซิไดซ์อย่างรวดเร็ว

                – ภาชนะที่บรรจุสารอาจจะเป็นอันตรายจากสารที่เหลือทิ้งไว้ เช่น ฝุ่นละออง ของแข็ง

                – สังเกตได้จากคำเตือนและรายละเอียดในการป้องกันของผลิตภัณฑ์

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ออกซิไดซ์โซลิก (Oxidizing solid) แมงกานีสออกไซด์ (NOS)

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN :  1479

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 4 ml

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุสารเคมีรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่สารเคมีหกรั่วไหล

        – ป้องกันผู้คนให้อยู่นอกบริเวณสารเคมีหกรั่วไหลและควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีที่เหมาะสม

        – ควรเก็บสารไว้ในสถานที่และภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดหรือจัดเก็บ

        – การใช้วิธีซึ่งไม่ทำให้เกิดฝุ่นขึ้น เก็บวัสดุที่ลุกไหม้ติดไฟได้ เช่น ไม้ กระดาน น้ำมัน ออกจากสารเคมีที่หกรั่วไหล

        การพิจารณาการกำจัด สารทุกอย่างจะไม่ปลอดภัยสำหรับการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ถึงแม้ว่าสารนี้จะไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อของเสีย ที่มีอันตรายต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับของทางราชการ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด และถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกินหรือการกลืนเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้น้ำปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยตอนหมดสติให้อยู่ในการดูแลของแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ชำระล้างบริเวณที่สัมผัสสารเคมีด้วยสบู่และน้ำ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ ขณะทำการล้าง ส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          30

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Mangan(IV)-oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Manganese (vi) oxide; Manganese (IV) dioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Manganese dioxide; Manganese peroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Manganese black ; Cement; Black manganese oxide; Cement black; Manganese Black; Manganese Peroxide; Black Dioxide; Manganese oxide

        สูตรโมเลกุล      MnO2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์33

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.        1313-13-9

        รหัส EC NO.  025-001-00-3

        UN/ID No.      1479       

        รหัส RTECS    OP 0350000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-202-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1313-13-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ผลิตสารทำความสะอาด การผลิตแบตเตอรี่ และใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    >3478 (หนู) (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.41(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.056(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :          กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผง

        สี : เทา, ดำ, น้ำตาลและดำ

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  86.94

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 533

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        5.0

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลาย ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.56

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.28 ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้ไม่ละลายในน้ำ ไนตริก และกรดซัลฟิวริกที่เย็น       

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปทำให้เกิดอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หรือไข้ที่เกิดจากการสัมผัสไอของโลหะ จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะไม่มีผลต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป ไม่ระบุไว้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง เจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อาการเรื้อรัง : การได้รับแมงกานีสซึ่งเป็นสารพิษโดยการสัมผัสทางการหายใจ และการกลืนกินเข้าไปเป็นเวลานานๆ ทำให้มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง ในระยะเริ่มต้นจะมีอาการเชื่องช้า ง่วงนอน ขาไม่มีแรง ในกรณีที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการทางอารมณ์แปรปรวน กล้ามเนื้อหดเกร็ง ขณะเดินเคลื่อนไหว อาการจะทรุดลง ผู้ป่วยมีอาการคล้ายกับโรค Parkinson มีผลกระทบกับระบบหมุนเวียนเลือดภายในไต และผลกระทบจากการได้รับสารแมงกานีสเรื้อรังอาจจะทำให้เกิดอาการผิดปกติทางจิตได้ การหายใจเข้าไปเป็นระยะเวลานานๆ เป็นสาเหตุทำให้เป็นอันตรายต่อปอด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้การใช้และการเก็บปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่สามารถเกิดการออกซิไดซ์ได้ง่าย ได้แก่ ซัลเฟอร์ซัลไฟล์ ฟอสไฟด์ ไฮโปฟอสไฟท์ คลอเรต เปอร์เซียมเอไซด์ คลอรีนไตรฟูโอไรด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ควรให้สารเคมีหลีกเลี่ยงจากความร้อน เปลวไฟ แหล่งที่ทำให้เกิดประกายไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ควันพิษจากสารเคมีอาจจะมาจากการสลายตัวจากความร้อน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่มีความเป็นอันตราย ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก จะเกิดเป็นรูปก๊าซคลอโรซีฟ คลอไรด์ การให้ความร้อนหรือการสลายตัวของสารเคมีออกแกนนิก สามารถทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้ ผงเคมีแห้ง หรือ คาณ์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้ไม่ลุกไหม้ติดไฟ แต่สารเคมีเป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรงและเกิดปฏิกิริยาความร้อนกับสารรีคิวซิงซ์ หรือลุกติดไฟได้ทำให้เกิดการจุดติดไฟขึ้น

                – เมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะก่อให้เกิดการเผาไหม้รุนแรงอย่างมาก

                – ในการเกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศภายในตัว(SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บไว้ในภาชนะที่มิดชิด และเก็บไว้ในที่ที่มีความเย็น แห้ง และพื้นที่ที่มีการระบายอากาศ เพื่อป้องกันปฏิกิริยา

        สถานที่เก็บ :

                – ควรเก็บแยกออกจากแหล่งที่มีความร้อน และที่มีการจุดประกายไฟ

                – หลีกเลี่ยงการเก็บรักษาที่เป็นอันตรายต่อร่างกายและที่มีความชื้น

                – หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม้ และให้แยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ สารที่สามารถเกิดไฟได้ สารออกแกนิค หรือสารที่สามารถเกิดการออกซิไดซ์อย่างรวดเร็ว

                – ภาชนะที่บรรจุสารอาจจะเป็นอันตรายจากสารที่เหลือทิ้งไว้ เช่น ฝุ่นละออง ของแข็ง

                – สังเกตได้จากคำเตือนและรายละเอียดในการป้องกันของผลิตภัณฑ์

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ออกซิไดซ์โซลิก (Oxidizing solid) แมงกานีสออกไซด์ (NOS)

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN :  1479

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 4 ml

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุสารเคมีรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่สารเคมีหกรั่วไหล

        – ป้องกันผู้คนให้อยู่นอกบริเวณสารเคมีหกรั่วไหลและควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีที่เหมาะสม

        – ควรเก็บสารไว้ในสถานที่และภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดหรือจัดเก็บ

        – การใช้วิธีซึ่งไม่ทำให้เกิดฝุ่นขึ้น เก็บวัสดุที่ลุกไหม้ติดไฟได้ เช่น ไม้ กระดาน น้ำมัน ออกจากสารเคมีที่หกรั่วไหล

        การพิจารณาการกำจัด สารทุกอย่างจะไม่ปลอดภัยสำหรับการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ถึงแม้ว่าสารนี้จะไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อของเสีย ที่มีอันตรายต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับของทางราชการ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด และถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกินหรือการกลืนเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้น้ำปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยตอนหมดสติให้อยู่ในการดูแลของแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ชำระล้างบริเวณที่สัมผัสสารเคมีด้วยสบู่และน้ำ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ ขณะทำการล้าง ส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          30

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Cuprous chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Copper (I) chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป    Copper chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Copper chloride; Cuprous monochloride; Copper monochloride

        สูตรโมเลกุล      CuCl

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์27

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7758-89-6

        รหัส EC NO.  029-001-00-4

        UN/ID No.      2802                  

        รหัส RTECS    GL 6990000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-842-9

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  Alfa Aesar, A Johnson Matthey Company Joknson Matthey Catalog Company, Ine

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7758-89-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในกระบวนการแยกสารด้วยไฟฟ้า
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 140 (หนู) (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   1008 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.0125 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผง,ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  98.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  1490

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  430

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        4.14

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.99 ที่ 546 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.05     

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ และต่อเยื่อเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้มีการอาเจียน เป็นเกิดแผลในกระเพาะอาหาร และมีอาการวิงเวียน และเกิดเป็นโรคโลหิตจางได้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา ทำให้เกิดการระคายเคืองตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่จัดเป็นสารก่อมะเร็งตามทะเบียนรายชื่อ EPA, IARC, NTP, OSHA หรือ ACGIA

        การสัมผัสเรื้อรัง: สารประกอบของคอปเปอร์จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ เป็นไข้ ภาวะเม็ดเลือดแดงแตก ทำอันตรายต่อตับ ปอด ไต และตับอ่อน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : น้ำ ความชื้น สารออกซิไดซ์ แสงสว่าง และอากาศ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCI) การสลายตัวจะไม่เกิดขึ้นถ้ามีการใช้และการเก็บไปตามข้อกำหนดที่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมชุดป้องกันสารเคมี

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่แห้งและเย็นและมีการระบายอากาศที่ดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากน้ำ ความชื้น และสารออกซิไดซ์

                – ให้เก็บภายใต้ก๊าซเฉื่อย และเก็บไว้ในที่มืด

                – ป้องกันการทำให้เกิดฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : คอปเปอร์คลอไรด์

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : –

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย และควบคุมบุคคลที่ไม่ได้สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายออกจากพื้นที่

        – ต้องแน่ใจว่ามีวิธีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        – อย่าให้สารเคมีรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ได้รับการอนุญาตของหน่วยงานราชการ

        – ให้ใช้น้ำฉีดทำความสะอาดหัวจากการเก็บกวาดเรียบร้อยแล้วบริเวณที่หกรั่วไหล

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่โดยให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ โดยให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : 

                  – เมื่อรั่วไหลสู่แหล่งน้ำ สารนี้จะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ, น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  

        OSHA NO. :    

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :              154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Chromium Oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  –

        ชื่อเคมีทั่วไป    Chromium trioxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Chromium anhydride; Chromium (VI) Oxide; Chromic Anhydride; Chromic Trioxide; Monochromium Oxide; Chromium (VI) Oxide (1:3); Chromerge; Chromium (VI) trioxide; Chromium oxide; Monochromium trioxide; Chromium trioxide (CrO3); Chromium Oxide (Chromic Anhydride);

        สูตรโมเลกุล      CrO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์26

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        1333-82-0

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.      1463        

        รหัส RTECS    GB 6650000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-607-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  www.J.T.Baker .com

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1333-82-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ :  ใช้ในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 80 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :  3.75 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.024 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :      0.024 (ppm)

        TLV-TWA(ppm) :      0.012(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :            –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : แดงเข้ม

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  99.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  250

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 197

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.7

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.4

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  ต่ำมาก

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  63

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  <-1 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.09

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : อุณหภูมิสลายตัว > 230 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปเนื่องจากสารนี้กัดกร่อนจะทำเกิดการทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลพุพอง และเกิดรูพรุน ต่อผนังกั้นโพรงจมูก และทำให้เกิดอาการอักเสบต่อลำคอ เกิดอาการไอ หายใจถี่รัว และหายใจลำบาก อาจทำให้เกิดอาการที่เกี่ยวกับปอด หรืออาการภูมิแพ้จากโรคหืด การสัมผัสกับสารในปริมาณมาก อาจทำให้เกิดอาการน้ำท่วมปอดได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนจะเกิดอาการผื่นแดง เจ็บปวด และแผลไหม้อย่างรุนแรง ฝุ่นและสารละลายเข้มข้นจะเป็นเหตุให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง เมื่อสัมผัสกับผิวหนังที่แตกหรือเป็นแผลจะทำให้เกิดแผลพุพอง (Chrome sores) และการดูดซึมถ้าเข้าสู่ร่างกายเป็นสาเหตุทำให้เกิดความเป็นพิษ มีผลกระทบต่อการทำงานของไต และตับ จะเป็นเหตุให้ผิวหนังไวต่อสิ่งกระตุ้น

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดเพลิงไหม้ บริเวณปาก, คอ, และกระเพาะอาหาร อาจทำให้เสียชีวิตได้ ทำให้เกิดอาการเจ็บคอ, อาเจียน, ท้องร่วง, การอักเสบของลำไส้, เส้นเลือดหดตัว, วิงเวียนศรีษะ, กระหายน้ำ, เกิดตะคริว, หมดสติ, มีอาการโคม่า, การไหลเวียนเลือดผิดปกติ, ไข้, เกิดการทำลายตับ และไตวายเฉียบพลัน

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาเนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้ตาพล่ามัวมองไม่ชัด ตาแดง ปวดตา และเกิดแผลไหม้อย่างรุนแรง อาจก่อให้เกิดบาดเจ็บต่อกระจกตาหรือตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สัมผัสเรื้อรังการสัมผัสซ้ำ ๆ กันหรือเป็นเวลายาวนานจะทำให้เป็นแผลพุพอง และเกิดรูของผนังแบ่งกั้นโพรงจมูก ทำให้ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ตับและไตถูกทำลาย เป็นแผลพุพองของผิวหนัง การเป็นแผลพุพองเริ่มแรกจะไม่มีอาการเจ็บปวด แต่จะทะลุเข้าไปถึงกระดูกทำให้เกิดรูพรุน (Chrome holes) สารนี้เป็นสารมะเร็งต่อมนุษย์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรเมื่ออยู่สภาวะ การใช้งานและการเก็บปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่สามารถติดไฟได้ สารอินทรีย์ หรือสารที่สามารถเกิดออกซิไดซ์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น กระดาษ ไม้ ซัลเฟอร์ อลูมิเนียม หรือพลาสติก, สารหนู แก๊ซแอมโมเนีย ไฮโรเจนซัลไฟล์ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม และเซเลเนียม ทำให้เกิดความร้อน และเกิดการกัดกร่อนแก่โลหะ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ควรหลีกเลี่ยงจากความร้อนที่สูงเกินและการเกิดการเผาไหม้หรือสารอินทรีย์

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหม้ อาจก่อให้เกิดโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่มีอันตราย

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   301

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิงให้ใช้น้ำ อย่างไรก็ตามสารจากการสลายตัวจะทำให้เกิดฟองที่เหนียวและต้องระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้จากการระเบิดของลำน้ำ

                – การเกิดระเบิดเมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะก่อให้เกิดการเผาไหม้อย่างรุนแรง

                – ภาชนะบรรจุสามารถเกิดการระเบิดขึ้นได้เมื่อเกิดการเผาไหม้

                – สารนี้ไม่ติดไฟ แต่เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรงและสามารถเกิดปฏิบัติความร้อนกับสารรีดิวซ์ หรือสารที่สามารถลุกติดไฟได้ทำให้เกิดการจุดติดไฟขึ้น

                – จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับกรดอะเซติก และแอลกอฮอล์

         การเผาไหม้ : ทำให้เกิดก๊าซออกซิเจนขึ้นจากการสลายตัว

                – ข้อมูลพิเศษในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังออกซิเจน (SCBA) ในตัวพร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง และระบายอากาศได้ดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งที่มีความร้อน แหล่งที่มีประกายไฟ ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ไม่ควรเก็บไว้บนพื้นที่ทำให้ด้วยไม้

                – ควรสวมใส่อุปกรณ์ที่ป้องกันอันตรายสำหรับงานบำรุงรักษาซึ่งจะต้องสัมผัสกับสารนี้ในปริมาณมากเกิน

                – ล้างมือ หน้า แขน และคอเมื่อออกจากสถานที่ควบคุมปฏิบัติงาน อาบน้ำ ควรเปลี่ยนเสื้อผ้า ชั้นนอกและทำความสะอาดเสื้อผ้าหลังเลิกงานทุกวัน

                – หลีกเลี่ยงเสื้อผ้าที่มีการปนเปื้อนสารเคมี และล้างมือก่อนที่จะมีการรับประทานอาหาร

                – ไม่ควรรับประทานอาหาร ดื่ม หรือสูบบุหรี่ในที่ที่มีการปฏิบัติงาน

                – ภาชนะที่บรรจุสารเคมี ที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ และให้ดูป้ายเตือน และอ่านข้อความระมัดระวังก่อนการใช้งาน

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : RQ CHROMIUM TRIOXIDE, ANHYDROUS

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN : UN 1463

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล : ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – เก็บกวาดและบรรจุใส่ภาชนะสำหรับเก็บคืนหรือนำไปกำจัด

        – การดูดหรือการกวาดขณะชื้นสามารถใช้ได้เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ควรเลือกใช้ถุงมือประเภท Polyvinyl chloride Vinyl แต่ควรหลีกเลี่ยงถุงมือประเภท Unsupported Neopnene Supperted Polyvinyl alcohol Natural Rubber และ Neoprene Natural Rubber

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปอยู่ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดการหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือการกลืนเข้าไป อย่าทำให้ผู้ป่วยเกิดการอาเจียน ควรให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ถ้าผู้ป่วยหมดสติห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากและให้อยู่ในความดูแลของแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก และทำความสะอาดเสื้อผ้า รองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :  สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อสารเคมีรั่วไหลสู่ดิน

                  – สารนี้จะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน เมื่อสารเคมีรั่วไหลสู่น้ำ

                  – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะระเหยได้ เมื่อสารเคมีรั่วไหลสู่อากาศ

                  – สารเคมีจะเคลื่อนย้ายไปสู่ชั้นบรรยากาศ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7600, 7604

        OSHA NO. :    103, 215

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :         สเปคโตโฟโตมิเตอร์

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 5.0 um PVC membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1-4 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 8 ลิตร สูงสุด 400 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          30

        DOT Guide :              141

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Barium peroxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  –

        ชื่อเคมีทั่วไป    Barium peroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Barium binoium dioxide barium superoxide

        สูตรโมเลกุล      BaO2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์19

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.        1304-29-6

        รหัส EC NO.  056-001-00-1

        UN/ID No.      1449            

        รหัส RTECS    CR 0175000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-128-4

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  Fluka Chemical

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  1001 West St. Paul Milwovkee WI 53233 USA : Tel. 414-273-3850

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                1304-29-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ :  ใช้ในการผลิตสารโครเมียม , ใช้เป็นส่วนประกอบของขั้วแคโทดในหลอดฟลูออเรสเซนต์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : –

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.07 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.07 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผง , ของแข็ง

        สี : ขาว-เหลือง

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  169.4

        จุดเดือด(0ซ.) :  800

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 450

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        5.0

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.05 ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  12 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.93

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.14 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : อุณหภูมิสลายตัว > 450 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ทำให้เกิดอาการกล้ามเนื้อกระตุก อักเสบ และบวมของกล่องเสียง และหลอดลม ปอดบวม และน้ำท่วมปอด ปวดศีรษะ คลื่นไส้ เจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด และมีอาการคล้ายกับการกินเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง และปวดแสบปวดร้อนได้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อเมือก คลื่นไส้ อาเจียน น้ำลายไหล เวียนศีรษะ ปวดเสียดท้อง และท้องร่วง ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือเกิดเป็นอัมพาตของแขนและขาได้ เกิดภาวะการขับน้ำลายออกมามาก การหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง ชีพจรเต้นช้าหรือเร็วเกินไปความดันโลหิตสูง มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร ลำไส้ และไต

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง และปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ จะทำให้มีผลต่อระบบในร่างกาย ชีพจรเต้นไม่เป็นจังหวะ หัวใจเต้นช้าผิดปกติ ความดันเลือดสูงขึ้น หมดสติ ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว และกล้ามเนื้อเกร็ง

        – อวัยวะเป้าหมาย หัวใจ ระบบประสาท ไต ระบบทางเดินอาหาร ไขกระดูก ม้าม ตั

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : เบสเข้มข้น กรด ผงโลหะ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ออกซิเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้ผงเคมีแห้ง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีสัมผัสกับผิวหนัง และตา

                – ในระหว่างเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดการปล่อยฟูม/ก๊าซพิษของสารออกมา ซึ่งเมื่อสัมผัสกับสารอื่น อาจจะก่อให้เกิดเพลิงไหม้ได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากสารไวไฟ ความร้อน ประกายไฟ และเปลวไฟ

                – สารนี้สามารถทำปฏิกิริยารุนแรงกับอะซิติกแอนไฮไดร์ และทำให้เกิดการระเบิดได้

                – สารนี้สามารถทำปฏิกิริยากับไฮดรอกซีลามีน ทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

                – สารนี้เมื่อผสมกับผงอะลูมิเนียม หรือผงซีลีเนียมสามารถทำให้เกิดการติดไฟได้ ส่วนผสมของสารนี้กับผงซีลีเนียมสามารถลุกติดไฟได้ที่อุณหภูมิ 265 องศาเซลเซียส

                – ใช้เฉพาะในบริเวณที่มีตู้ดูดควันสารเคมี (Hood)

                – หลีกเลี่ยงการสัมผัสซ้ำ ๆ กันเป็นเวลานาน

                – อย่าหายใจเอาฝุ่นของสารเข้าไป อย่าให้เข้าตา สัมผัสถูกผิวหนังและเสื้อผ้า

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกายให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Barium peroxide

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN : UN1449

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเท้าบูท และถุงมือยาง

        – ให้ดูดซับสารที่หกรั่วไหลด้วยทราย หรือหินแร่เวอร์ไมคิวไลท์ และเก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทสำหรับการกำจัด

        – จัดให้มีการระบายอากาศและล้างบริเวณหกรั่วไหลหลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : การหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วย ออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัด ให้ออกซิเจนช่วย และนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้บ้วนปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง ด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ และทิ้งรองเท้าที่เปรอะเปื้อน

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที โดยใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก ขณะทำการล้าง แล้วนำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :                – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

                – เป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม

                – อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ หากมีกากจัดการหรือกำจัดที่ไม่เหมาะสม

                – ภายหลังสารนี้ทำปฏิกิริยากับน้ำ จะเป็นพิษต่อพืช , ปลา

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :    –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          30

        DOT Guide :              141

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557