คลังเก็บหมวดหมู่: เทคโนโลยีเคมี

Ammonia water

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Ammonium hydroxide

        ชื่อเคมีทั่วไป     Ammonium hydroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Aqua ammonia; Ammonia Water; Ammonium, aqueous; Ammonia, monohydrate; Aqueous Ammonia; Ammonia-15N; Ammonium Hydroxide, Redistilled;

        สูตรโมเลกุล      NH4OH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์117

        รหัส IMO  12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        1336-21-6

        รหัส EC NO.    007-001-00-5

        UN/ID No.      2672              

        รหัส RTECS    BQ 9625000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         215-647-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T. Baker INC

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1336-21-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
        ลักษณะทั่วไปของความเป็นพิษของสารเคมี :  เป็นพิษ (poison), กัดกร่อน (corrosive), หากได้รับผ่านการกิน หรือหายใจเข้าไป อาจก่อให้เกิดการตายได้, ไอระเหยสามารถก่อห้เกิกการไหม้ในทุกส่วนที่ได้รับสัมผัส

        LD50(มก./กก.) : 350 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        2860/4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       50(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      25(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      35(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   35.05

        จุดเดือด(0ซ.) :  36

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -72

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.9

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :    –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  115ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11.6

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.43

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.70 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ หารหายใจหาสารทีความเข้มข้นสูง เข้าไปจะก่อให้เกิดแผลไหม้ น้ำท่วมปอดและอาจตายได้ ความเข้มข้นที่อาจทำให้ตายได้คือ 5000 ppm

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองและเกิดแผลไหม้ได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร และอาจทำให้เยื่อบุช่องท้องทะลุหรืออักเสบ ทำให้เกิดอาการปวดในปาก , อก , ท้อง , เกิดอาการไอ , อาเจียน และหมดสติได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง จะทำให้เกิดอาการปวดตา , เกิดการทำลายตา และอาจทำให้ตาบอด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

                – สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก ตับ ไต กระเพาะปัสสาวะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด , อะโคลิน , ไดเมทิลซัลเฟต , ฮาโลเจน , ซิลเวอร์ไนเตรท , โพไพลีนออกไซด์ , ไนโตรมีเทน , ซิลเวอร์ออกไซด์ , เงิน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน แสงแดด สารที่เข้ากันไม่ได้ และแหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหม้จะทำให้เกิดแอมโมเนียและไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   615

        ค่า LEL % :     16

        UEL % :        25     

        NFPA Code :   310

         สารดับเพลิง : ไม่ระบุไว้

                – ไอระเหยของสารสามารถเกิดการสะสมในบริเวณที่เป็นสถานที่รับอากาศได้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้ และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหล หรือไอระเยหที่ยังไม่ติดไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก NIOSH พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ และเก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส และหลีกเลียงการสัมผัสกับแสงโดยตรง

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ไอระเหย , ของเหลว )

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Ammonia Solution

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : UN 2672

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้ระบายอากาศบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม และกันบุคคลที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหล หรือของเหลวเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ถ้าสามารถทำได้

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่น ๆ

        – ให้ทำการเจือจางส่วนที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ หรือทำให้เป็นกลางโดยกรด เช่น อะซีติก , ไฮโดรคลอริก , ซัลฟูริก

        – ให้ดูดซับด้วยดินเหนียว , แร่หินทราย หรือสารที่เฉื่อย และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

                 แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 250 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 240 นาที และให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :    การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการละลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สารนี้มีพิษต่อสิ่งแวดล้อม ชีวิตสัตว์ และพืชน้ำ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Ammonia

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
          ชื่อเคมี IUPAC   Ammonia

         ชื่อเคมีทั่วไป     Ammonia ; Anhydrous

         ชื่อพ้องอื่นๆ      N-H; Ammonia, aqueous~Ammonia, solution; Ammonia

         สูตรโมเลกุล      NH3

         สูตรโครงสร้าง   12272645_10207256009251994_1563749215_n

         รหัส IMO    12305461_10207256009932011_793950692_n12283340_10207256009451999_60499863_n

         CAS No.        7664-41-7

         รหัส EC NO.    007-001-00-5

         UN/ID No.      1005               

         รหัส RTECS   BO 0875000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         231-635-3

         ชื่อวงศ์  Alkaline Gas

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Praxair Product.Inc

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          7664-41-7          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) :     –

         LC50(มก./ม3) :     2000 / 4 (มก./ม3)

         IDLH(ppm) :   300 (ppm)

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       35 (ppm)

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      25 (ppm)

         TLV-STEL(ppm) :      35 (ppm)

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
          สถานะ : ก๊าซ

         สี : ไม่มีสี

         กลิ่น : ฉุน

         นน.โมเลกุล :   17.031

         จุดเดือด(0ซ.) :  -33.35

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -77.7

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.6819

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    0.579

         ความหนืด(mPa.sec) :   –

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  5900ที่ 200ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11.6ที่ –0ซ.

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  0.7

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          1.428 ppm ที่  25  0ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปในปริมาณมากกว่า 25 ppm ทำให้ระคายเคืองจมูกและคอ ถ้าได้รับปริมาณมากจะหายใจติดขัด เจ็บหน้าอก หลอดลมบีบเกร็ง มีเสมหะและปอดบวม

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะเป็นฝื่นแดง บวม เป็นแผล อาจทำให้ผิวหนังแสบไหม้ถ้าได้รับสารปริมาณมากๆ

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไปจะทำให้แสบไหม้บริเวณปาก คอ หลอดอาหารและท้อง

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เจ็บตา เป็นผื่นแดง ตาบวม ทำให้น้ำตาไหล ทำลายตา

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  เป็นสารก่อมะเร็งและทำลายไต ตับ ปอด ระบบประสาทส่วนกลาง และเป็นสารมีฤทธิ์กัดกร่อน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
 ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : ทอง เงิน ปรอท สารออกซิไดซ์ ฮาโลเจน สารประกอบฮาโลจีเนต กรด ทองแดง อลูมิเนียม คลอเรต สังกะสี

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่อุณหภูมิมากกว่า 840องศาเซลเซียส

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  651

         ค่า LEL % :     15

         UEL % :        28     

         NFPA Code :   12283181_10207269220502267_1469058426_n

         สารดับเพลิง : CO2 ผงเคมีแห้ง สเปรย์น้ำ

        – วิธีการดับเพลิงรุนแรง : อพยพคนออกจากบริเวณเพลิงไหม้ อย่าเข้าไปบริเวณเพลิงไหม้โดยปราศจากอุปกรณ์ป้องกันอันตราย หล่อเย็นภาชนะบรรจุโดยใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ใช้น้ำหยุดการแพร่ของไอ ย้ายภาชนะบรรจุออกถ้าสามารถทำได้

        – อันตรายจากการระเบิดและเพลิงไหม้ผิดปกติ : จะเกิดก๊าซพิษที่ไวไฟและมีฤทธิ์กัดกร่อน สามารถระเบิดถ้าผสมกับอากาศและสารออกซิไดซ์ ไม่ควรเก็บภาชนะบรรจุไว้เกินอุณหภูมิ 52 องศาเซลเซียส

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน เปลวไฟและประกายไฟ เก็บให้ห่างจากสารออกซิไดซ์ ปิดวาล์วเมื่อไม่ใช้สารหรือภาชนะบรรจุว่างเปล่า ต้องมั่นใจว่าตรึงถังแก๊สไว้แน่นอย่างเหมาะสมขณะใช้ หรือเก็บ

         สถานที่เก็บ :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

         ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล : ให้อพยพผู้คนออกจากบริเวณอันตรายทันที สวมอุปกรณ์ป้องกันการหายใจและชุดป้องกันสารเคมี ลดการกระจายของไอด้วยสเปรย์น้ำ ย้ายแหล่งจุดติดไฟออกให้หมด หยุดการรั่วไหลของสารถ้าทำได้

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 ppm ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 300 ppm ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจและหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ประเภทที่เหมาะสม โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

        ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       –  ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่ได้รับสาร ถ้าไม่หายใจให้ใช้เครื่องช่วยหายใจ ให้ออกซิเจนถ้าหายใจติดขัด รักษาร่างกายให้อบอุ่น นำส่งไปพบแพทย์

         กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนกินเข้าไป สารนี้เป็นก๊าซที่อุณหภูมิและความดันปกติ ให้บ้วนปากด้วยน้ำแล้วให้ดื่มน้ำหรือนมอย่างน้อย 2 แก้ว อย่ากระตุ้นให้อาเจียน นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกตา : ล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที ล้างโดยเปิดเปลือกตาล่างบน จนกว่าไม่มีสารเคมีหลงเหลืออยู่ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

          อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
          ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. :  6015, 6016

         OSHA NO. :    188

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

         วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

         ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.1 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 0.1 ลิตร สูงสุด 76 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :          07

         DOT Guide :               125

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Zinc

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Zinc

        ชื่อเคมีทั่วไป  Zinc dust

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Blue powder ; Zinc Powder or Dust

        สูตรโมเลกุล    Zn

        สูตรโครงสร้าง   –

        รหัส IMO     041042

        CAS No.      7440-66-6

        รหัส EC NO.   031-001-00-1

        UN/ID No.    1436, 1435

        รหัส RTECS    ZG 8600000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-175-3

        ชื่อวงศ์                Metal oxide

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า    Van Waters & Rogers LTD

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7440-66-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ :   ใช้ทำแผ่นสังกะสี และอัลลอยด์ของโลหะ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :   –

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    10 mg/m3

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผง ของแข็ง

        สี : เทา

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  65.37

        จุดเดือด(0ซ.) :  906

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 420

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :  7.1

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0.99

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลาย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.67

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.37 ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคือง เป็นไข้ หนาวสั่น(Meal fever) ไอ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปอาจเกิดอาการหนาวสั่น เป็นไข้ ท้องร่วง อาเจียน เป็นตะคริวในท้อง อ่อนเพลีย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ผงสังกะสี ฝุ่น และฟูม/ก๊าซของสารไม่เป็นพิษต่อมนุษย์โดยการหายใจเข้าไป การหายใจเข้าไปทำให้มีรสหวาน, คอแห้ง, ไอ, อ่อนเพลีย, หนาว, เป็นไข้, คลื่นไส้, อาเจียน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ก๊าซฮาโลเจน กรด เบส สารออกซิไดซ์ซึ่งอาจจะทำให้เกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรงหรือเป็นสาเหตุทำให้ไฮโดรเจนเข้ามาเกี่ยวข้อง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความชื้น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :  ความร้อนจะทำให้เกิดฟูมของซิ้งค์ออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ฝุ่นปริมาณมากพอที่จะทำให้เกิดลูกไฟขึ้นเองและลูกไฟติดเมื่อสัมผัสอากาศ การสัมผัสกับกรดหรืออัลคาไลด์ไฮดรอกไซด์จะทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ระเบิดได้ เมื่อถูความร้อนจะทำให้เกิดซิ้งค์ออกไซด์

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  600

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงแห้ง ทรายแห้ง และหลีกเลี่ยงการใช้น้ำในการดับเพลิง

                – เป็นเพลิงประเภท D (โลหะติดไฟ)

                – การดับเพลิงใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นอุปกรณ์และภาชนะบรรจุ ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – สารอันตรายจากการเกิดเพลิงไหม้จะทำให้เกิดฟูม/ก๊าซพิษของซิ้งค์ออกไซด์

                – ฝุ่นที่ละเอียดอาจเกิดเป็นส่วนผสมที่ระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับอากาศ ถ้ามีความเข้มข้มสูงกว่า 480กรม/ลบ.ม มีการจุดติดไฟ

                – การสัมผัสกับกรดหรือไฮดรอกไซด์อัลคาไลด์ จะทำให้เกิดไฮโดรเจน

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง และมีอากาศถ่ายเทอย่างดี

        สถานที่เก็บ

                – ควรเก็บให้ห่างประกายไฟและเปลวไฟ ความร้อนจากไอน้ำ ฝุ่น

                – เก็บให้ห่างจากกรดไฮดรอกไซด์อัลคาไลด์

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Zine dust

                ประเภทอันตราย :  4.3,4.2

                หมายเลข UN :  1436

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ทำความสะอากบริเวณที่รั่วไหล

        – ระบายอากาศให้ทั่วถึงในบริเวณที่รั่วไหล

 

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ควรรีบนำส่งแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังทันทีด้วยสบู่หรือน้ำปริมาณมากๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที ถ้าถ้าเกิดการระคายเคืองให้รีบไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        26

        DOT Guide :            138

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Vanillin

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   4-Hydroxy-3-methoxybenzaldehyde

        ชื่อเคมีทั่วไป  Vanillin

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Methylprotocatechuic aldehyde; Vanillic aldehyde; Vanillaldehyde; Lure-n-kill fly tape; 3-Methoxy-4-hydroxybenzaldehyde; VAINILLINA;

        สูตรโมเลกุล    C8H8O3  

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์72

        รหัส IMO     –

        CAS No.      121-33-5

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์               Organic

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า   CALEDON LABORATORIES LTD.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                121-33-5         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารในการวิเคราะห์ และทดสอบในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    –

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : ขาว

        กลิ่น : หอมหวาน

        นน.โมเลกุล :  –

        จุดเดือด(0ซ.) :  285

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  81-83

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.056

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :-

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : –

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  –

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   –

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองหายใจส่วนบน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหารและลำไส้ การได้รับสารในปริมาณมาก ทำให้เกิดการคลื่นไส้, อาเจียน และท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :-

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรภายใต้อุณหภูมิ และความดันปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดส์รุนแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อนสูง, แหล่งจุดติดไฟ, การเกิดฝุ่น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของคาร์บอน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย, ผงเคมีแห้ง, โฟมที่เหมาะสม

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิด

                – ฝุ่นของสารสามารถจุดติดไฟโดยประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจ ชนิดมีถังอากาศในตัว ( SCBA ) และชุดป้องกันสารเคมี

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : ออกไซด์ของคาร์บอน

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บห่างจากแสงอาทิตย์

                – เก็บภาชนะบรรจุให้มิดชิดเมื่อไม่ได้ใช้งาน และภาชนะบรรจุว่างเปล่า

                – ป้องกันการทำลาย เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ปฏิบัติตามข้อควรปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย

                – ผู้ที่ใช้สารเคมีควรได้รับการอบรมในการใช้สาร และทราบอันตรายของสาร

                – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น

                – หลีกเลี่ยงการสัมผัสสาร

                – ใช้สารเคมีให้น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ผู้ที่ทำความสะอาดควรได้รับการฝึกฝนในการใช้ และทราบอันตรายของสาร

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        –  ทำความสะอาดโดยใช้วิธีที่ไม่ทำให้เกิดฝุ่น

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ถ่ายเทสารใส่ภาชนะบรรจุอย่างระมัดระวัง และนำไปบริษัทกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล ด้วยน้ำและสารซักฟอก

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยยังมีสติ ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ และให้ดื่มน้ำ 2 – 4 แก้ว เพื่อเจือจางสาร นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการอยู่

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก โดยให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที โดยให้น้ำไหลผ่าน ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : –
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Vanadium oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Vanadium pentoxide

        ชื่อเคมีทั่วไป  Vanadium(V) oxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Vanadium oxide; Vanadium oxides; Vanadium(V) pentoxide; V-O; Vanadium (5) oxide; C.I. 77938; Vanadium oxide (C2O5); Vanadium oxide (5); Vanadium pentoxide ; Vanadic anhydride

        สูตรโมเลกุล    V2O5

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์71

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      1314-62-1

        รหัส EC NO.   023-001-00-8

        UN/ID No.   2862,3077

        รหัส RTECS    YW 2460000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-239-8

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  J.T. Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                1314-62-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  10 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :     226/6 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :          4.55(ppm)       

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.0067(ppm)  

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :      0.013(ppm)  

        TLV-TWA(ppm) :    0.0065(ppm)  

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึกของแข็ง

        สี : น้ำตาล-เหลือง

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  181.88

        จุดเดือด(0ซ.) :  1750

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  690

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    3.36

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 6.3

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.1-1%

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  4ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  7.44

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.13ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   สารนี้สามารถสลายตัวที่อุณหภูมิ 1750 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป ละออง ฝุ่น ควันมีความเป็นพิษสูง สัมผัสถูกจะทำให้เกิดอันตรายต่อปอด และหลอดลม ทำให้เกิดอาการระคายเคือง และอักเสบต่อเยื่อบุ หลอดอาหาร ทำให้ลิ้นเปลี่ยนเป็นสีเขียว-ดำ ไอ หายใจถี่รัว หลอดลมตีบ แน่นหน้าอก โรคหืด เป็นผลให้เกิดปอดอักเสบ ปอดบวม อาจถึงตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง มีอาการผื่นแดง ทำให้คัน และปวดแสบปวดร้อน แผลพุพอง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้มีความเป็นพิษสูง อาจทำให้เสียชีวิตได้ จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดศรีษะอาจเกิดโรคโลหิตจางได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอ ละออง และฝุ่นของสารนี้จะทำให้เกิดการระคายเคือง และแผลไหม้ ตาแดง เจ็บตา และอาการเยื่อบุตาอักเสบ

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้จะมีผลต่อการพัฒนาของทารกในครรภ์ เนื้องอก การสัมผัสเป็นเวลานาน ๆ จะทำลายปอด ทางเดินหายใจ และผิวหนัง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้ การเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ลิเธียม กรดเปอร์ออกซีฟอร์มิค และคลอรีนไตรฟลูออไรด์ ส่วนผสมของวาเนเดียมเพนออกไซด์กับแคลเซียม ซัลเฟอร์ น้ำ จะเกิดการลุกติดไฟได้เอง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของวาเนเดียม

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   300

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้สามารถเผาไหม้แต่จะลุกติดไฟได้ยาก

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดแน่นมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศในพื้นที่อย่างดี ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

        สถานที่เก็บ

                – แยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุนี้อาจเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่ามีสารเคมีตกค้าง เช่น ฝุ่น ของแข็ง

                – ให้สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : วาเนเดียมเพนท๊อกไซด์ (Vanadium Pentoxide)

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : 2862

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 500 กรัม

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ควบคุมบุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่มีการป้องกันอันตรายออกห่างจากบริเวณที่หกรั่วไหล

        – สวมใส่อุปกรณ์การป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – เก็บและใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสำหรับการนำกลับมาใช้ใหม่หรือการนำไปกำจัดโดยใช้วิธีซึ่งไม่ทำให้เกิดฝุ่น

        – ต้องรายงานการหกรั่วไหล การปนเปื้อนดิน น้ำ อากาศ มากเกินกว่าที่ต้องรายงาน

        การพิจารณาการกำจัด : สารนี้ไม่สามารถนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องจัดการเช่นเดียวกับกากของเสีย และส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

                ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 0.5 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1.25 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2.5 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 35 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้อยู่ในความดูแลของแพทย์ทันที กระตุ้นทำให้อาเจียนทันที ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่ที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ , น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   7300,7504

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง                

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                  – วิธีวิเคราะห์ให้ใช้ INDUCTINELY COUPLED ARGON PLASMA, ATOMIC EMISSION SPECTROSCOPY

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : -0.8 um cellulose ester membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ถึง 4 ลิตรต่อนาที

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        36,49

        DOT Guide :            151,171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Urea

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Urea

        ชื่อเคมีทั่วไป  Carbamide

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Carbonyl diamine; Carbamimidic acid; Isourea; Aquadrate; Ureaphil; Ureophil; Aquacare/HP; Nutriplus; Urecare; Urederm;

        สูตรโมเลกุล    H2NCONH2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์70

        รหัส IMO     –

        CAS No.      57-13-6

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS      200-315-5

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า   Difco Laberatories, Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ   P.C. Box 331058

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                57-13-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ทำปุ๋ย         
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    8471 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผงของแข็ง

        สี : ขาว

        กลิ่น : แอมโมเนียเจือจาง

        นน.โมเลกุล :  60.16

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  132-135

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.335

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5.6-7.5 ที่250ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   2.46

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.406 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   สารนี้สามารถละลายในเอทานอล และเมทานอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ เป็นอันตรายต่อร่างกาย

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปทำให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เป็นอันตรายต่อร่างกาย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : –

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ แอมโมเนีย และไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   200

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดควันที่เป็นพิษ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บห่างจาก สารที่เข้ากันไม่ได้ ประกายไฟ และเปลวไฟ

                – เก็บสารไว้ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 3 องศาเซลซียส ที่ความดันบรรยากาศ

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหลด้วยน้ำปริมาณมากๆ

        – ทำความสะอาดด้วยไม้ถูพื้น

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป นำส่งไปพบแพทย์ทันที นำภาชนะบรรจุสารให้แพทย์ดูด้วย

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – สารนี้สามารถเกิดการสลายตัวทางชีวภาพได้ดี

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sulfamic acid

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   Ammonium sulfamate

        ชื่อเคมีทั่วไป  –

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Sulfamic acid, ammonium salt; Ammate; Sulfamic Acid, Monoammonium Salt; Ammonium Amidosulfate; Amicide; AMS; Sepimate; Silvacide; Ammate X; Ammate X-NI; Monoammonium sulfamate; Amcide; Ikurin

        สูตรโมเลกุล    N2NIO3NH4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์69

        รหัส IMO     –

        CAS No.    7773-06-0

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  3077

        รหัส RTECS    WO 6125000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-871-7

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Ashland Chemical Co.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ P.O. Box 2219 Columdus, CH 43216

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7773-06-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้เป็นยากำจัดวัชพืชให้ต้นไม้ , พืชสมุนไพร , พืชยืนต้น
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    3900 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           315(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :    2.1(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    2.1(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง  : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ฉุนเล็กน้อย

        นน.โมเลกุล :  114.1

        จุดเดือด(0ซ.) :  160

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  133

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.77

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : 195 ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5.0-6.5 ที่200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm = 4.67

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.21 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  สารนี้มาสารถละลายได้ในแอมโมเนียมเหลว ฟอร์มาไมล์ และกลีเซอรอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป ทำให้เกิดการระคายเคืองทางเดินหายใจ เนื่องจากสารนี้เป็นฝุ่นหรืออาจทำให้เกิดฝุ่น มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง อาจเป็นสาเหตุทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคืองเล็กน้อย ผื่นแดง และผิวหนังไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไปถ้ากลืนกินเข้าไปเล็กน้อย ขณะทำการขนถ่ายอาจจะไม่มีผลทำให้เกิดอันตราย แต่ถ้ากลืนกินเข้าไปปริมาณมาก อาจทำให้เกิดอันตรายระคายเคือง กระเพาะอาหาร หลอดอาหารผิดปกติ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตาเล็กน้อย เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน น้ำตาไหล ตาแดง และแผลไหม้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับสารก่อมะเร็ง สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับความร้อนที่สูงเกินกรดแร่แก่

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ทำให้เกิดสารประกอบกำมะถัน (sulfur)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ฉีดน้ำเป็นฝอย

                – สารอันตรายจากการเผาไหม้ จะทำให้สารประกอบกำมะถัน.

                – ห้ามใช้เครื่องเชื่อมหรือหัวตัดแกสทำงานกับถังบรรจุหรือบริเวณใกล้ ๆ (แม้แต่ถังเปล่า) เพราะสารนั้น (แม้แต่สารตกค้าง)

                – สามารถทำให้เกิดการระเบิดขึ้นได้

                – สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว(SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้าและชุดป้องกันสารเคมี

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศที่ดี

                – การเคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุสารเคมีนี้จะเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่าเนื่องจากมีสารตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว ให้สังเกตูข้อควรระมัดระวังและคำเตือนทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลเล็กน้อยเพื่อนำไปกำจัดหรือนำกลับมาใช้ใหม่

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : การกำจัดจากข้อมูลการจัดการของเสียให้เก็บไว้ในบ่อฝังกลบ กฎข้อบังคับของรัฐและรัฐบาลกลาง

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากบริเวณที่สัมผัสสารไปยังบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ทันที รักษาร่างกายผู้ป่วยให้อบอุ่นและสงบนิ่ง ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายให้วางศีรษะต่ำกว่าลำตัว ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินสารนี้เข้าไปปริมาณน้อยในระหว่างเคลื่อนย้ายปกติจะไม่เป็นอันตราย การกลืนหรือกินเข้าไปมากๆจะทำให้เกิดอันตรายได้

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาขึ้นลง นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และการจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   S348 (II-5)

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 2 mixed cellulose ester membrane filter 0.8 um/37 mm.

                – วิธีวิเคราะห์ใช้วิธี ion chromatography

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium Tetraborate Decahydrate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium Tetraborate Decahydrate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Borax

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Borates, Tetrasodium Salts, Decahydrate; Sodium Diborate Decahydrate; Tetraborate, decahydrade; Disodium tetraborate decahydrate; Sodium borate decahydrate; Fused borax; Borax glass; Fused sodium borate; Borax decahydrate; Borascu; Borax (B4Na2O7.10H2O); Boricin; Gerstley borate; Sodium pyroborate decahydrate; Sodium tetraborate decahydrate (Na2B4O7.10H2O); Solubor; SODIUM BORATES;

        สูตรโมเลกุล    Na2B4O7.10H2O

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์67

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.      1303-96-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  1458

        รหัส RTECS  VZ 2275000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-540-4

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                1303-96-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารฆ่ามด ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบเงา อีนาเมล สารทำความสะอาดและบัดกรีโลหะ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  2660 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       10(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :     ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :    กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : ขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  381.42

        จุดเดือด(0ซ.) :  320

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 75

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  54 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  –

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   –

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือกและทางเดินหายใจส่วนบน ไอ คลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และอาจเป็นอันตราย เช่นเดียวกับการกลืนหรือกินเข้าไป ถ้าสารนี้ถูกดูดซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดท้อง หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ลำตัวเขียวคล้ำ เพ้อคลั่ง หมดสติ ชัก

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ มีรายงานว่าได้รับสารนี้เข้าไปในทารก 5 กรัม อาจถึงเสียชีวิตได้ และ 5-20 กรัม สำหรับผู้ใหญ่  อวัยวะเป้าหมาย ตา ระบบทางเดินหายใจ ระบประสาทส่วนกลาง ไต อัณฑะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับโปแตสเซียม กรดแอนไฮดรายส์ Zirconium กรดแก่

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   โบรอนออกไซด์ Na2O

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง และใช้โฟมชนิดที่เหมาะสม

                – เป็นสารไม่ติดไฟ

                – การดับเพลิงขั้นรุนแรงให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว พร้อมอุปกรณ์สารเคมีสัมผัสถูกตา และผิวหนัง ในขณะเกิดเพลิงไหม้จะทำให้เกิดฟูม/ก๊าซพิษออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากกรด สารที่เข้ากันไม่ได้

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเอาฝุ่นของสารนี้เข้าไป การสัมผัสถูกตา ผิวหนัง ใช้หรือถ่ายเทเฉพาะในที่มีตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น ติดตั้งที่อาบน้ำ และที่ฉีดล้างฉุกเฉิน ล้างทำความสะอาดให้ทั่วหลังจากการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ให้อพยพบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากพื้นที่

        – สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเท้าบูท และถุงมือยาง

        – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลใส่ในถุงบรรจุสำหรับนำไปกำจัด เป็นกากของเสียต่อไป

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ระบายอากาศและล้างทำความสะอาดหลังจากการเก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้บ้วนปากด้วยน้ำสะอาด นำส่งไปพบแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – สารนี้อาจเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ

                  –  อย่าปล่อยสารนี้ลงสู่แหล่งน้ำ ดิน สิ่งแวดล้อม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   0500

        OSHA NO. : ID 125 G

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง                 

        วิธีการวิเคราะห์ :       ชั่งน้ำหนัก

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                 – การเก็บตัวอย่างใช้ : 0.5 um PVC membrane

                 – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1.7 ถึง 2.5 ลิตรต่อนาที

                 – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 20 ลิตร สูงสุด 400 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        30

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium perchlorate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium perchlorate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium perchlorate anhydrous

        ชื่อพ้องอื่นๆ  Natriumperchloraat (dutch) ; Natriumperchlorat (german) ; Perchlorate de sodium (french) ; Sodio (perclorato di) (italian) ; Sodium (perchlorate de) (french)

        สูตรโมเลกุล    ClNaO4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์66

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.      7601-89-0

        รหัส EC NO.  017-010-00-6

        UN/ID No.  1502

        รหัส RTECS    SC 9800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-511-9

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7601-89-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารในการเตรียมคลอรีน (Chlorinating agent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  2100 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 2

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : ขาวถึงไม่มีสี

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  122.5

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  482

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    –

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : –

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.01

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.20 ppm ที่25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจส่วนบน และต่อเยื่อเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกินหรือกลืนสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดอันตราย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดก่อระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : อวัยวะเป้าหมาย : ต่อมไทรอยด์ เลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ทราบลักษณะของสารที่เกิดจากการสลายตัว

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารอินทรีย์ กรดแก่ ทำให้เกิดส่วนผสมที่ระเบิดได้ กับผงโลหะละเอียดๆ สารรีดิวซ์แมกนีเซียม

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้ฉีดน้ำเป็นฝอย โฟมที่เหมาะสม

                – สารออกซิไดซ์อย่างแรง : อาจทำให้เกิดเพลิงไหม้และระเบิดได้ เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดก๊าซพิษออกมา

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีสัมผัสผิวหนังและตา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บห่างจากสารติดไฟได้

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศที่ดี

                – อย่าเก็บไว้ใกล้หรือไม่ให้สัมผัสกับเสื้อผ้าและวัสดุติดไฟได้ อื่นๆ

                –  ล้างทำความสะอาดหลังจากการเคลื่อนย้าย

                –  การใช้งานสารนี้ให้ใช้งานในตู้ดูดควันเท่านั้น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจ แว่นตานิรภัยป้องกันสารเคมี รองเท้าบูทยาง และถุงมือยาง

        – ปิดคลุมสารด้วยปูนขาวแห้ง ทราย หรือโซดาแอ็ส

        – เก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดโดยใช้อุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟและเคลื่อนย้ายออกไปไว้ภายนอกอาคาร

        – ระบายอากาศพื้นที่และล้างบริเวณหกรั่วไหลหลังจากเก็บกวาดสารเคมีเรียบร้อยแล้ว

        – การกำจัดให้ติดต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการกำจัดกากของเสียสารนี้ และให้ปฏิบัติตามกฎ ข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมของรัฐและท้องถิ่น

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่ที่อากาศบริสุทธิ์ หากผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอดและหากมีการหายใจติดขัดให้ทำการให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนกินเข้าไป และผู้ป่วยยังสติอยู่ให้ทำการบ้วนปากด้วยน้ำ และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังออกทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมทั้งถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดน้ำล้างตาทันที ด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที และเพื่อให้แน่ใจว่าสารปนเปื้อนถูกล้างออกไปหมดให้ใช้ นิ้วถ่างเปลือกตาแล้วทำการล้างตาซ้ำอีกครั้ง

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และการจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :       30

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium Hydrogen Carbonate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium bicarbonate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium Hydrogen Carbonate

        ชื่อพ้องอื่นๆ  Baking soda; Sodium acid carbonate; Bicarbonate of soda; Carbonic acid monosodium salt; Carbonic acid sodium salt (1:1); Col-evac; Jusonin; Monosodium hydrogen carbonate; Monosodium carbonate; Meylon; NEUT; Soda mint; Sodium hydrocarbonate; Soludal;

        สูตรโมเลกุล    NaHCO3                       

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์64

        รหัส IMO     –

        CAS No.      144-55-8

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    VZ 0950000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        205-633-8

        ชื่อวงศ์                 Inorganic Salt

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า    A DIVISTION OF EM INDUSTRIES

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                144-55-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ :  ใช้เป็นสาร blowing agent
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4220 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  84.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  122

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  10 ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   8.2ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.44

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  2.29 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    อุณหภูมิสลายตัว : > 50 องศาเซลเซียส , สารนี้ไม่สามารถละลายได้ในแอกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจและเยื่อบุเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้มีความเป็นพิษต่ำ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดก่อระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่ได้อยู่ในบัญชีรายชื่อสารก่อมะเร็งของ ACGTH , IARC , NIOSH , NTP หรือ OSHA

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  กรด , แอมโมเนีย , ฟอสเฟต , monobasic

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   000

         สารดับเพลิง : น้ำฉีดเป็นฝอย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง หรือโฟมที่เหมาะสม

                – สารนี้ไม่ลุกติดไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บที่อุณหภูมิห้อง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในที่แห้งและเย็น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล กั้นแยกบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง และไม่ได้สวมใส่อุปกรณ์ปัองกันที่เหมาะสมให้ออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        –  ปิดแหล่งจุดติดไฟทั้งหมด

        –  ปิดแหล่งที่สารหกรั่วไหลถ้าสามารถทำได้อย่างปลอดภัย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติและรู้สึก ให้ดื่มน้ำสะอาด นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  –  สารนี้จะไม่ก่อให้เกิดผลต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557