คลังเก็บหมวดหมู่: เทคโนโลยีเคมี

Sodium hydrogen orthophoshate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium monohydrogen phosphate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Disodium hydrogen phosphate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Di-Sodium Hydrogenphosphate; Sodium Phosphate Dibasic; Disodium Phosphate; Di-sodium hydrogen orthophosphate; Phosphoric acid, disodium salt; Sodium monohydrogen phosphate (2:1:1); Dibasic sodium phosphate; Disodium monohydrogen phosphate; Disodium orthophosphate; Disodium phosphoric acid; DSP; Soda phosphate; Sodium acid phosphate; Disodium Monophosphate; Disodium Monohydrogen Orthophoshate; Sodium Phosphate Reagent Grade Dibasic;

        สูตรโมเลกุล    Na2HPO4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์63

        รหัส IMO     –

        CAS No.      7558-79-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  3077

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-448-7

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7558-79-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารอิมัลซิฟายเออร์ และบัฟเฟอร์ในอาหาร,สีย้อม,ผ้าไหม,การวิเคราะห์ทางเคมี,ในอุตสาหกรรมการเคลือบเงา เซรามิกซ์ สารลดแรงตึงผิว
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    > 1000 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผงของแข็ง

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  358-14

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  34

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.52

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 4.9

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  11

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  9.0-9.4 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  14.65

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.07 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเอาฝุ่นของสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและทางเดินหายใจ และการหายใจเอาสารนี้ที่มีความเข้มข้นสูงเข้าไป จะทำให้เกิดการไอและสำลักได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังซ้ำๆ เป็นเวลานาน จะทำให้เกิดอาการผิวหนังอักเสบได้ บุคคลที่มีภูมิไวต่อสารนี้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไป ถ้ากลืนกินเข้าไปปริมาณมาก จะเป็นอันตรายได้ ความเป็นพิษของเกลือโซเดียมอาจทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร ลิ้นบวม อ่อนเพลีย ความเครียด อาการเพ้อคลั่ง หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดก่อระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ โดยปกติสารนี้มีอันตรายเล็กน้อย และสามารถถูกขับออกจากร่างกายได้โดยรวดเร็ว แต่กรณีที่ไตผิดปกติเกลือของสารนี้จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นและทำให้เกิดอันตรายได้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  อัลคาลอยด์ แอนติโพริเดียม คลอโรรอลไฮเดรท ลีทอะซิเตรท ไฟโรกอรอล และรีซอลนอล

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ในกรณีที่เกิดไฟไหม้ให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ โฟมหรือผงเคมีแห้ง ให้เลือกใช้อุปกรณ์ในการดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพการเกิดเพลิง

                – สารนี้ไม่ใช้ของแข็งไวไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีปิดคลุมเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – สารนี้เป็นสารดูดความชื้นและมักจะเกาะกันเป็นก้อนในที่เก็บ เมื่อไม่ใช้สารนี้ควรจะปิดภาชนะให้แน่นสนิทตลอดเวลา

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศที่ดี

                – สารนี้ไม่มีฤทธิ์กัดกร่อนวัสดุ หรือเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการ ภาชนะบรรจุและการเคลื่อนย้าย

                – คำเตือนระหว่างการใช้งานควรป้องกันการทำลายหรือการเจาะรูภาชนะบรรจุ

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุหกรั่วไหล ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และอุปกรณ์ช่วยหายใจ

        – เก็บกวาดส่วนที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะที่ปิดแน่นสนิทสำหรับนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ให้ฉีดล้างบริเวณที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย ให้นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ หากผู้ป่วยอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ เพื่อเจือจาง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยสบู่และน้ำ ปริมาณมากๆ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที โดยเปิดเปลือกตาให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ : จะก่อให้เกิดการขาดออกซิเจนในแหล่งน้ำดื่ม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium fluoride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium monofluoride

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium fluoride

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Disodium difluoride; Floridine; Florocid; Villiaumite; NaF; Sodium hydrofluoride; Sodium monofluoride; Trisodium trifluoride; Alcoa sodium fluoride; Antibulit; Cavi-trol; Chemifluor; Credo; Duraphat; Fda 0101; F1-tabs; Flozenges; Fluoral; Fluorident; Fluorigard; Fluorineed; Fluorinse; Fluoritab; Fluorocid; Fluor-o-kote; Fluorol; Fluoros; Flura; Flura-gel; Flura-loz; Flurcare; Flursol; Fungol b; Gel II; Gelution; Gleem; Iradicav; Karidium; Karigel; Kari-rinse; Lea-cov; Lemoflur; Luride; Luride lozi-tabs; Luride-sf; Nafeen; Nafpak; Na frinse; Nufluor; Ossalin; Ossin; Osteofluor; Pediaflor; Pedident; Pennwhite; Pergantene; Phos-flur; Point two; Predent; Rafluor; Rescue squad; Roach salt; Sodium fluoride cyclic dimer; So-flo; Stay-flo; Studafluor; Super-dent; T-fluoride; Thera-flur; Thera-flur-n; Zymafluor; Les-cav; Sodium Fluoride, 99.9%;

        สูตรโมเลกุล    NaF

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์62

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      7681-49-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  1690

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์                 Metallic halide (inorganic salt)

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า   Caledon Laboratories Ltd.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7681-49-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ฟอกขาวในอุตสาหกรรมกระดาษ สิ่งทอ และใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :     64 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :          146 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.46(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    1.46(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :     ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :      สำนักงานอาหารและยา

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง, ผลึก

        สี : ไม่มีสี , ขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  41.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  1695

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  998

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.78

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 1.45

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  > 10

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  7.4

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.72

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.58 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคือง เจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง เกิดภาวะลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจน อ่อนเพลีย สารนี้ดูดซึมและเกิดผลกระทบต่อระบบในร่างกายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังทำให้เกิดการระคายเคือง แผลไหม้ ผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน แผลพุพอง และทำให้เนื้อเยื่อบริเวณที่สัมผัสถูกทำลาย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้เจ็บคอ ปวดท้อง ท้องร่วง เป็นตะคริวในท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตลดลง อ่อนเพลีย อาจทำให้เกิดการทำลายสมองและไตได้ และการสัมผัสที่ความเข้มข้นที่ทำให้เสียชีวิตได้ (5-10 g) และก่อให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนเพลีย ชัก เกิดภาวะการทำงานไม่ประสานกัน หายใจติดขัด ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทำงานผิดปกติ และทำให้เสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา สายตาพล่ามัวและอาจทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : ผลกระทบต่อการสัมผัสสารนี้เป็นระยะเวลานานทางการหายใจจะก่อให้เกิดอาการหายใจติดขัด ไอ อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น และเกิดภาวะลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภูมิต่ำกว่า 1800 องศาเซลเซียส

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์อย่างแรง กรดแร่เข้มข้น แก้ว

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่มี

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   เกิดออกไซด์ของคาร์บอนและไนโตรเจน ฟูม/ก๊าซพิษของไฮโดรเจนและโซเดียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะทำปฏิกิริยากับกรดฟอมิคที่สามารถระเบิดได้ ทำปฏิกิริยารุนแรงกับอะซิโตนไนไตรส์เซลูโลส สารนี้สามารถทำปฏิกิริยากับกรดทำให้เกิดไฮโดรเจนฟลูออไรด์ซึ่งเป็นพิษและมีฤทธิ์กัดกร่่อนรุนแรง

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   200

         สารดับเพลิง : ให้ใช้สารเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ใช้น้ำฉีดให้เป็นฝอย และโฟม

                – สารนี้จะเกิดติดไฟจากความร้อน, ประกายไฟ เปลวไฟ

                – ไอระเหยของสารนี้อาจไหลแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดติดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุอาจเกิดการระเบิดขึ้นได้จากความร้อนและเปลวไฟ

                – ไอระเหยสามารถทำให้ระเบิดได้ทั้งในร่มและกลางแจ้งหรือในท่อ

                – อันตรายจากการเผาไหม้จะเกิดฟูม/ก๊าซพิฒของคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ และไอระเหย

                – ให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกถ้าทำได้โดยปราศจากความเสี่ยง

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิง เพื่อป้องกันการระเบิดให้ออกห่างจากด้านท้ายของภาชนะบรรจุ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการสัมผัสโดยตรงกับแสง และป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งจุดติดไฟ เปลวไฟและการเอื้อมถึงของมือเด็ก และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : –

                ประเภทอันตราย :  6.1 , 9.2

                หมายเลข UN : UN 1690

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – หยุดการรั่วไหลของสารถ้าสามารถหยุดได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ดูดซับสารที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุอื่น ๆ และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดสำหรับนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่, การดื่มหรือการกิน

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPD/PPR) อย่างเหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

                – ถุงมือให้เลือกใช้วัสดุที่ทำมาจากไนไตร์ ยาง นีโอพริน PVC หรือซาราเนก TM

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 12.5 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 5

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ ซึ่งเป็นแบบ quarter mask โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 62.5 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองฝุ่น และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าพร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                        – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                        – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ แล้วนำไปพบแพทย์โดยด่วน ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้บ้วนล้างปากด้วยน้ำสะอาดและนำผู้ป่วยไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  –  ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 7902 , 7906

        OSHA NO. :   ID 110

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 cellulose ester filter

                –  อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 – 2 ลิตรต่อนาที

                –  ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด 12 ลิตร -สูงสุด 800 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium dichromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Disodium dichromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium dichromate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Dichromic acid, disodium salt ; Chromic acid (H2Cr2O7), disodium salt; Sodium Bichromate – Carc.;

        สูตรโมเลกุล    Na2Cr2O7.2H2O

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์61

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      10588-01-9

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  3085

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS       –

        ชื่อวงศ์                –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า     JT.BAKER Inc., SAF-T.DATA

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                10588-01-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในกระบวนการแยกสารด้วยไฟฟ้า (eletrochemical) และทำให้สารแขวนลอย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    50 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       0.0082(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :    0.0041(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผลึก ของแข็ง

        สี : แดงส้ม

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  298.0

        จุดเดือด(0ซ.) : 400

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  357

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.35

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  73 ที่ 0 ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  3.5

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm = 0.082

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 = 12.195 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะก่อให้เกิดเนื้อเยื่อของเยื่อบุและทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรง อาจทำให้เกิดแผลเปื่อยหรือทำให้โพรงจมูกทะลุได้ จะก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด อาจทำให้เกิดอาการหอบหือ และการสัมผัสสารที่ความเข้มข้นสูงอาจทำให้เกิดน้ำท่วมปอดได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง เนื่องจากสารนี้มีทธิ์กัดกร่อน จะก่อให้เกิดผื่นแดง ปวด และอาจเกิดแผลไหม้รุนแรงได้ ฝุ่นและสารละลายเข้มข้นของสารนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคือง การสัมผัสกับผิวหนังที่แตกจะก่อให้เกิดแผลพุพอง หรือแผลเปื่อยได้ การดูดซึมของสารนี้ผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกายจะก่อให้เกิดพิษ และเกิดผลกระทบต่อการทำงานของตับและไต รวมทั้งอาจทำให้เกิดภาวะภูมิไวต่อการสัมผัสทางผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินสารนี้เข้าไปจะก่อให้เกิดแผลไหม้บริเวณปาก ลำคอ และกระเพาะอาหาร และอาจทำให้เสียชีวิตได้ ก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ อาเจียน ท้องร่วง กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ เส้นเลือดหดตัว วิงเวียนศีรษะ กระหายน้ำ เป็นตะคริว หมดสติ เกิดความผิดปกติของการสูบฉีดโลหิต เป็นไข้ ทำลายตับ และอาจทำให้เกิดภาวะไตล้มเหลวอย่างเฉียบพลันได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดอาการตาแดง สายตาพร่ามัว ปวดตา และเกิดแผลไหม้ของเนื้อเยื่ออย่างรุนแรง อาจทำให้เกิดการทำลายกระจกตา และทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ (NTP)

                – การสัมผัสสารเป็นระยะเวลานานหรือการสัมผัสสารซ้ำๆ จะทำให้เกิดแผลเปื่อยและแผลทะลุของโพรงจมูก ระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ทำลายตับและไต เกิดแผลเปื่อยหรือแผลพุพองที่ผิวหนัง การเกิดแผลพุพองอาการเริ่มแรกจะไม่มีอาการเจ็บปวดแต่สารจะค่อยๆเกิดการทำลายลึกเข้าจนถึงกระดูก , สารนี้เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บรักษา

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไฮดรอกซีน อะซิติกแอนไฮดราย เอททานอล ไตรไนโตรโทลูอีน ไฮดรอกซีลามัน กรดเข้มข้น สารที่ไวไฟ สารอินทรีย์หรือสารที่สามารเกิดปฏิกิริยาออกซิไดส์ได้ง่าย เช่น กระดาษ ไม้ ซัลเฟอร์ อลูมินัม พลาสติก

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ก๊าซโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   311

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดส์อย่างแรง ซึ่งสามารถเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนกับสารรีดิวซ์ทำให้เกิดการลุกติดไฟได้

                – การกระแทกอย่างแรง การสัมผัสถูกความร้อน การเสียดสี หรือการสัมผัสกับประกายไฟอาจก่อให้เกิดการระเบิดได้

                – ให้ใช้น้ำฉีดหล่อเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้

                – ใช้น้ำฉีดหล่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้จนกระทั้งไฟดับหมด

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในบริเวณที่แห้งและเก็บแยกออกจากสารที่สามารถติดไฟได้ สารอินทรีย์ สารที่สามารถออกซิไดส์ได้ง่าย

                – การเคลื่อนย้ายและการเก็บรักษาจะต้องมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

        สถานที่เก็บ

                – หลีกเลี่ยงการเก็บสารนี้ไว้บนพื้นไม้

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายโดยเฉพาะการเข้าไปบำรุงรักษารอยแตกร้าวภายใน หรือที่ซึ่งมีการสัมผัสสารมากเกินกว่าที่กำหนด

                – ให้ทำการล้างมือทุกครั้งก่อนการกินอาหาร ดื่มน้ำ หรือสูบบุหรี่

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง อาจเป็นอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Oxidation Solid , Corrosive , N.O.S. (Sodium bichromate)

                ประเภทอันตราย :  5.1 , 8

                หมายเลข UN : UN 3085

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้จัดให้มีการระบายอากาศในบริเวณที่หกรั่วไหล

        -เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        -ให้ใช้การดูดหรือการกวาดขณะชื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        -ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฎิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย แล้วนำส่งไบพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำปริมาณมาก ห้ามนำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ และให้ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – เมื่อรั่วไหลสู่ดิน สารนี้จะถูกชะลงสู่น้ำใต้ดินได้

                  – เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ คาดว่าสารนี้ไม่สามารถระเหยได้

                  – สารนี้จะสะสมในสิ่งมีชีวิตได้ในบางช่วงความเข้มข้น

                  – เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ สารนี้อาจเกิดการสลายตัวแบบเปียกออกจากอากาศได้

                  – คาดว่าสารนี้จะเป็นพิษต่อสัตว์และพืชน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   7024      

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง             

        วิธีการวิเคราะห์ :       อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 0.8 um Cellulose ester membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ถึง 3 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :       –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium carbonate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium carbonate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium carbonate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    –

        สูตรโมเลกุล    Na2Co3  

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์59

        รหัส IMO     –

        CAS No.      497-19-8

        รหัส EC NO.  011-005-00-2

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    VZ 4050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        207-838-8

        ชื่อวงศ์                  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า    Merck.Ltd

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                497-19-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  4090 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      2300/ 2 ชั่วโมง ( หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.11(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     0.1(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผง

        สี : สีขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  105.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  ~ 891

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.53

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  21 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11.5

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.33

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.23 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองช่องทางหายใจส่วนบน ไอ หลอดลมตอนบนอักเสบ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง มีอาการปวดแสบปวดร้อน

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้ไอ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้มีผลต่ออวัยวะเจริญพันธ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  กรดแก่ อะลูมินัม ฟลูออรีน โลหะอัลคาไลท์ สารประกอบไนโตร กรดซัลฟูริกเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความชื้น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดควันพิษออกมา

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง ที่อุรหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเเซียล

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – เก็บห่างจาก ความชื้น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล อพยพคนออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดผงฝุ่น

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :      –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium bicarbonate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium bicarbonate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium Hydrogen Carbonate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Baking soda; Sodium acid carbonate; Bicarbonate of soda; Carbonic acid monosodium salt; Carbonic acid sodium salt (1:1); Col-evac; Jusonin; Monosodium hydrogen carbonate; Monosodium carbonate; Meylon; NEUT; Soda mint; Sodium hydrocarbonate; Soludal;

        สูตรโมเลกุล    NaHCO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์57

        รหัส IMO     –

        CAS No.      144-55-8

        รหัส EC NO.  011-004-00-7

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    VZ 0950000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        205-633-8

        ชื่อวงศ์                 Inorganic Salt

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า A DIVISTION OF EM INDUSTRIES

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                144-55-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้เป็นสาร blowing agent
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4220 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.11(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     0.1(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  84.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  122

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  10 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  8.2 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.44

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   2.29 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   อุณหภูมิสลายตัว : > 50 องศาเซลเซียส , สารนี้ไม่สามารถละลายได้ในแอกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจและเยื่อบุเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้มีความเป็นพิษต่ำ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่ได้อยู่ในบัญชีรายชื่อสารก่อมะเร็งของ ACGTH , IARC , NIOSH , NTP หรือ OSHA

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  กรด , แอมโมเนีย , ฟอสเฟต , monobasic

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   000

         สารดับเพลิง : น้ำฉีดเป็นฝอย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง หรือโฟมที่เหมาะสม

                –  สารนี้ไม่ลุกติดไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

        สถานที่เก็บ

                – เก็บที่อุณหภูมิห้อง

                – เก็บในที่แห้งและเย็น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล กั้นแยกบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง และไม่ได้สวมใส่อุปกรณ์ปัองกันที่เหมาะสมให้ออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ปิดแหล่งจุดติดไฟทั้งหมด

        – ปิดแหล่งที่สารหกรั่วไหลถ้าสามารถทำได้อย่างปลอดภัย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        การพิจารณาการกำจัด สารนี้ไม่สามารถทำได้อย่างปลอดภัยในการนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องนำไปกำจัดตามแบบของการกำจัดของเสียอันตราย

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติและรู้สึก ให้ดื่มน้ำสะอาด นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – สารนี้จะไม่ก่อให้เกิดผลต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –        

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :     –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :       –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium azide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium azide

        ชื่อเคมีทั่วไป  Azium

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Smite; Hydrazoic acid, sodium salt; U-3886; Sodium azide ;

        สูตรโมเลกุล    NaN3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์56

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      26628-22-8

        รหัส EC NO.  011-004-00-7

        UN/ID No.  1687

        รหัส RTECS    VY 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        247-852-1

        ชื่อวงศ์                 J.T Baker.Inc

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                26628-22-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในขบวนการผลิตดอกไม้ไฟ ถุงลมนิรภัย อุปกรณ์ความปลอดภัยของรถยนต์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    27 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.11(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     0.1(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  65.02

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   275

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.85

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 2.2

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  72 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   2.659

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.516 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    อุณหภูมิสลายตัว > 275 องซาเซลเซียส

                – สารนี้สามารถละลายได้ในแอมโมเนียเหลว แต่ไม่สามารถละลายในอีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป ทำให้เกิดการระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจ เยื่อบุทางเดินหายใจ แผลที่ลำคอ ไอ จาม หายใจถี่ อ่อนเพลีย หมดสติ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เกิดการระคายเคือง รอยแดง และรู้สึกเจ็บ และมีอาการคล้ายกับการกินเข้าไปเพราะสารนี้สามารถซึมผ่านผิวหนังได้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินสารนี้เข้าไป ทำให้หายใจติดขัด ปอดบวม ชีพจรเต้นถี่ขึ้น คลื่นเหียน อาเจียน ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย, และท้องร่วงภายใน 15 นาที อาการอื่นเช่น ความดันเลือดต่ำ หายใจผิดปกติ อุณหภูมิของร่างกายลดลง ค่า pH ของร่ายกายลดลง มีอาการหดเกร้งของกล้ามเนื้ออยางรุนแรง ล้มฟุบ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสสารนี้ทางตา ก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง เจ็บปวด ทำให้การมองเห็นพล่ามัว ไม่ชัด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การได้รับสารนี้จะมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ไต และระบบเลือดหัวใจและหลอดเลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ สลายตัวเกิดการระเบิดได้ เมื่อได้รับความร้อน การสั่น ถูกกระทบกระแทกหรือการเสียดสี

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  เบนโซอิลคลอไรด์ผสมโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โบรมีน คาร์บอนไดซัลไฟด์ โครมิสคลอไรด์ (Chromyl chloride) ทองแดง ไดโบรมาโลโนไนไตร (Dibromalononitrile) ไดเมทิลซัลเฟต ตะกั่ว แบเรียมคาร์บอเนต กรดกำมะถัน น้ำ และกรดไนตริก

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อนเปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   การระเบิดจะขึ้นกับการสลายตัวของสารที่ปล่อยก๊าซไนโตรเจน (N2) และโซเดียม (Na)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   313

         สารดับเพลิง : ฉีดน้ำให้เป็นฝอย สารเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – เป็นของแข็งที่ติดไฟ จะเกิดเพลิงไหม้เมื่อได้รับความร้อน

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ : ให้สวมใส่อุปกรณ์หายใจชนิดมีถังอากาศ (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีสัมผัสผิวหนังและตา

                – ฉีดน้ำให้เป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหล่อเย็นภาชนะที่ถูกเพลิงไหม้

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้สารนี้จะทำให้เกิดก๊าซพิษออกมารวมทั้งไนโตรเจนออกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศในพื้นที่

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งความร้อน หรือแหล่งจุดติดไฟ และสารที่มีฤทธิ์เป็นกรด

                – ป้องกันภาชนะบรรจุเสียหายทางกายภาพ

                – แยกเก็บออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้จะเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่าเนื่องจากมีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง

                – ให้สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อควรระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : โซเดียมแอไซด์

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 1687

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ให้เคลื่อนย้ายของการจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้มีการระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้ทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหลเพื่อไม่ให้เกิดฝุ่นแพร่กระจายไปในอากาศ

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – ลดความเข้มข้นของฝุ่นสารในอากาศและป้องกันทำให้กระจายโดยการทำให้ชื้นด้วยการพรมกับน้ำ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุปิดมิดชิดเพื่อนำไปแปรรูปใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – ต้องรายงานการหกรั่วไหล การปนเปื้อนดิน น้ำและอากาศมากเกินกว่าที่กำหนด

        การพิจารณาการกำจัด สารนี้ไม่สามารถทำได้อย่างปลอดภัยในการนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องนำไปกำจัดตามแบบของการกำจัดของเสียอันตราย

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย นำส่งแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป กระตุ้นให้อาเจียนทันทีโดยบุคลากรทางการแพทย์ ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ เรียกแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้นำสารเคมีออกจากผิวหนังให้เร็วที่สุด ล้างผิวหน้า ด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้ารองเท้า ที่เปื้อนสารเคมีออก และทำความสะอาดก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับเปิดเปลือกตาด้านบนและด้านล่างส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – สารนี้เมื่อปนเปื้อนในจะไม่สลายตัวแต่จะซึมลงสู่ชั้นน้ำใต้ดิน สารนี้เมื่อปนเปื้อนสู่อากาศ จะสลายตัวด้วยแสงอาทิตย์ปานกลาง สารนี้จะเป็นพิษกับปลาในความเข้มข้น น้อยกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   211 , 121

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง             

        วิธีการวิเคราะห์ :       อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – อัตราไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 2 ลิตรต่อนาที

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        41

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Silver nitrate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Silver nitrate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Silver nitrate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Nitric acid, silver (I) salt; Lunar caustic; Silver (I) nitrate (1:1); Silbernitrat; AgNO3

        สูตรโมเลกุล    AgSO4  

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์55

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      7761-88-8

        รหัส EC NO.  047-001-00-2

        UN/ID No.  1493

        รหัส RTECS    VW 4725000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-853-9

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า EM Science

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7761-88-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้เป็นยาฆ่าเชื้อโรค , ใช้ในการชุบโลหะ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    50 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.01(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.01(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  169.87

        จุดเดือด(0ซ.) :  440

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   212

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      4.35

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 5.8

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  71 ที่  – 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5.4-6.4 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.95

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.15 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองต่อเยื่อเมือกและทางเดินหายใจอาจทำให้ปอดถูกทำลายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการระคายเคืองและแผลไหม้ต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อเมือกและทางเดินหายใจอาจทำให้ปอดอาจถูกทำลายได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคืองและแผลไหม้ต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลาย ดวงตา ประสาท เลือด ปอด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  Halide arsenite antimony salt

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  สัมผัสกับอากาศและแสง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของไนโตรเจนซิลเวอร์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   100

         สารดับเพลิง : กรณีที่เกิดเพลิงไหม้ให้ใช้สารเคมีที่เหมาะสมกับประเภทของเพลิงบริเวณใกล้เคียง

                – ขั้นตอนในการดับเพลิง ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมี

                – จะเพิ่มความไวไฟของการเผาไหม้ขึ้นหรือทำให้สามารถออกซิไดซ์ได้ง่ายขึ้น

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท เก็บไว้ในที่อุณหภูมิเย็นและมีการระบายอากาศที่ดี เก็บห่างจากวัสดุติดไฟหรือออกซิไดซ์ ไม่ควรสูดดมฝุ่นละออง อย่าให้เข้าตาหรือสัมผัสกับผิวหนังและเสื้อผ้า

        สถานที่เก็บ : ไม่ระบุไว้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Silver nitrate

                ประเภทอันตราย :  5.1

                หมายเลข UN : UN 1493

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม

        – ให้ตัดแหล่งจุดติดไฟที่จะทำให้เกิดอันตรายจากการติดไฟและการระเบิดทั้งหมด

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยผายปอดทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือกลืนเข้าไป อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ถ้ามีสติให้ดื่มน้ำตามมากๆ และให้อยู่ในความดูแลของแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างออกให้ทั่วด้วยสบู่และน้ำ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างให้ทั่วทันทีโดยให้น้ำไหลผ่านอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ซิลเวอร์ไอออนเป็นพิษสำหรับสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ในน้ำ , แบคทีเรีย , สำหรับไนเตรทอาจเป็นปัจจัยทำให้น้ำขาดออกซิเจนเป็นอันตรายต่อน้ำดื่ม , ปลา

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :      

        ข้อมูลอื่น ๆ :     –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        30

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sand

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Silicon dioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป  –

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Silica, quartz; Free crystalline silica; Silica flour; Silica (crystalline-quartz); Quartz; Sea Sand; Quartz (SiO2); Sand, Ottawa For Cement Testing;

        สูตรโมเลกุล    SiO2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์54

        รหัส IMO     –

        CAS No.      14808-60-7

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    VV 7330000

        รหัส EUEINECS/ELINCS      –

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                14808-60-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้เป็นสารเพิ่มความแข็งแรง , เพิ่มความเหนียว และลดการแตกร้าวในเครื่องเคลือบ (ceramics)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    –

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  เม็ดเล็ก ๆ

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  60.1

        จุดเดือด(0ซ.) :  > 2200

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  1713

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      2.2

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.46

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.41ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป ถ้าหายใจเอาฝุ่นเข้าไปเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เป็นโรคถุงลมปอด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : –

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         ไม่เป็นสารไวไฟ

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

                – สารนี้ไม่เป็นสารไวไฟ

                – อันตรายจากไฟและการระเบิด : ฝุ่นสามารถเกิดการระเบิดได้ถ้าผสมกับอากาศ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่อุปกรณ์ที่มีเครื่องช่วยหายใจในตัวชนิดมีถังอากาศในตัว(SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่เย็น และแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ทำการเคลื่อนย้ายในที่โล่ง

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล ให้เก็บใส่ถุงหรือภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัด

        – ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด เผาในเตาเผาสารเคมีที่มีอุปกรณ์หัวเผาขั้นที่สอง และอุปกรณ์กำจัดมลพิษ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 0.5 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1.25mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2.5 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece ซึ่งมีอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 1000

                – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายออกสู่บริเวณที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยสบู่และน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างตาโดยใช้ให้น้ำไหลผ่าน และนำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7500 , 7601 , 7602

        OSHA NO. :   IDv 142

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง                  

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 5um PVC membrane filter

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 400ลิตร, สูงสุด 1000 ลิตร

                – วิธีการวิเคราะห์ให้ใช้ X-ray powder diffraction

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

 

 

Salicylic acid

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  2 – Hydroxy benzuic acid

        ชื่อเคมีทั่วไป  Salicylic acid ; Ortho Hydroxybenzoic acid ; Phenolic acid (2-Hydroxy benzoic acid)

        ชื่อพ้องอื่นๆ    –

        สูตรโมเลกุล  HOC6H4COOH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์53

        รหัส IMO     –

        CAS No.      69-72-7

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  –

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                69-72-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยาแอสไพรินและซาลิโซเลต, เรซิน, ตัวกลางสีย้อม, สารยับยั้ง สารในการวิเคราะห์, ยาฆ่าเชื้อรา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    891(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : หอม

        นน.โมเลกุล :  138.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  211

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   158

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      1.44

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.02 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  3 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.65     

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.18 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้สามารถละลายได้ในเอทานอล และอีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง จมูก คอ และทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และเป็นผื่นแดง (โรคผิวหนัง)

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ปาก ลำคอ และท้อง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองเล็กน้อย และทำให้เจ็บตา ถ้าไม่เอาสารออกทันที

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การสัมผัสสารติดต่อกันเป็นเวลานานจะก่อให้เกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ กรณีที่สัมผัสถูกผิวหนังเป็นเวลานาน ๆ ทำให้เป็นโรคผิวหนัง/ผิวหนังปูด ทำลายระบบประสาทส่วนกลาง และระบบเลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไนตรัส อีเทอร์ ตะกั่ว อะซีเตตและไอโอดีน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  อุณหภูมิสูง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :  ฟินอล, คาร์บอนไดออกไซด์, ที่อุณหภูมิมากกว่า 204 องศาเซลเซียสจะเกิดแก๊สพิษขึ้น ทำปฏิกิริยารุนแรงกับฟลูออรีน สังกะสีคลอไรด์ที่มีความร้อน เหล็ก และกรด

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         > 100

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   > 150

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : น้ำฉีดเป็นฝอย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – สารนี้จะทำให้ระเบิดได้ถ้าผสมกับอากาศและสารออกซิไดซ์

                – สารนี้จะติดไฟเมื่อมีความร้อนหรือแหล่งจุดติดไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : ฟินอล คาร์บอนไดออกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

        สถานที่เก็บ

                – เก็บไว้ที่อุณหภูมิมากกว่า 50 องศาเซลเซียส

                – เก็บห่างจากแสงสว่าง เหล็ก

                – ควรมีการติดต่อสายดินและใช้อุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดการระเบิด

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : SALICYCLIC ACID

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ :   O

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด โดยหลีกเลี่ยงการรเกิดฝุ่น

        – เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟ (ไม่ควรมีการสูบบุหรี) ออกจากบริเวณสารรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ระบายอากาศและล้างบริเวณหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – อย่าให้สารไหลลงท่อระบายน้ำ

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ติดต่อศูนย์ข้อมูลทางพิษทันที กระตุ้นให้เกิดการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิดหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ถ้าอาการยังปรากฎอยู่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ นำส่งไปพบแพทย์ (จักษุแพทย์)

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – สารนี้มีแนวโน้มในการสะสมทางชีวภาพต่ำ

                  – จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :     –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :           –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium hydroxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium hydroxide

        ชื่อเคมีทั่วไป  –

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Potassium hydrate; Caustic potash; Lye; Potassa; Caustic potash, liquid

        สูตรโมเลกุล    KOH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์50

        รหัส IMO     12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      1310-58-3

        รหัส EC NO.  019-002-01-5

        UN/ID No.  1813, 1814

        รหัส RTECS    TT 2100000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-181-3

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
              1310-58-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้ในกระบวนการผลิตแบตเตอรี่ เป็นอัลคาไลน์เซลล์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    273 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     0.88(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผงของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  56.1

        จุดเดือด(0ซ.) :  1324

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   361

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      2.044

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  110 ที่ 25 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  >13.5 ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.30

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.44 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป เป็นอันตรายต่อเยื่อเมืองและทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ หายใจติดขัด โรคปอดอักเสบ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และดูดซึมผ่านผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนเข้าไปจะเป็นอันตราย ทำให้ไอ มึนงง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน คอหอยอักเสบ หลอดอาหารอักเสบ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ความร้อนเหนือจุดหลอมเหลว, ดีบุก, สารประกอบไนไตร, สังกะสี, สารอินทรีย์, แมกนีเซียม, ทองแดง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ดูดซึม CO2 จากอากาศ, ความร้อนจากการเดือดของสารจะสูงมาก

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่สามารถเผาไหม้ได้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – ในขณะที่เกิดเพลิงไหม้จะเกิดฟูม/ก๊าซพิษซึ่งจะทำปฏิกิริยารุนแรงกับโลหะ จะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนซึ่งเป็นก๊าซที่สามารถลุกติดไฟได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากการสัมผัสกับน้ำ

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล : กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และ แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Polyvinyl Chloride ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และ แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆทันทีอย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆทันที อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ นำส่งไปพบแทพย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – สารนี้อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

                  – สารนี้จะส่งผลที่เป็นอันตราย เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงพีเอช มีฤทธิ์กัดกร่อนแม้ในสภาพที่เจือจาง

                  – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ LC50 : 10 mg/l/96 hr.

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7401

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง                 

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – วิธีการวิเคราะห์ใช้การไตเตรท ( acid – bse titration )

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 1 um PTFE membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ถึง 4 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557