2-Naphthol

ส่วนที่ 1:  ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
          ชื่อเคมี IUPAC   2-Naphthol

         ชื่อเคมีทั่วไป     Beta-Naphthol

         ชื่อพ้องอื่นๆ      Isonaphthol; Beta-hydroxynaphthalene; 2-Hydroxynaphthalene; 2-Naphthalenol; Hydroxynaphthalene; Naphthalenol; Naphthyl alcohol; Naphthyl hydroxide

         สูตรโมเลกุล      C10H7OH

         สูตรโครงสร้าง     12270513_10207247643482855_898389670_n

         รหัส IMO        12309051_10207268096954179_1768263646_n

         CAS No.        135-19-3

         รหัส EC NO.    604-007-00-5

         UN/ID No.      –                   

         รหัส RTECS    QL 2975000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         205-182-7

         ชื่อวงศ์                               Phenols

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           JT Baker Inc.

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ          222 Red School Lane, Phillipsburg New Jersey U.S.A. 08865

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          135-19-3          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ (Laboratory reagent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1960 (มก./กกใ)

         LC50(มก./ม3) :      >770/1 (มก./ม3)

         IDLH(ppm) :    –

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       –

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      –          

         TLV-STEL(ppm) :     –

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
          สถานะ : ของแข็ง

         สี : ผงสีขาวขุ่น

         กลิ่น : กลิ่นฟินอลิค

         นน.โมเลกุล :   144.17

         จุดเดือด(0ซ.) :  285

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 123

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.22

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.97

         ความหนืด(mPa.sec) :    –

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  10  ที่  145 0ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 0.1% ที่  200ซ.

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   –

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    5.89

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.169 ppm ที่ 25 0ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   สารนี้สามารถละลายได้ในเอทานอล, อีเธอร์ และคลอโรฟอร์ม

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจส่วนบน

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังทำให้เกิดการระคายเคือง

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไป จะทำให้เกิดปวดศีรษะ อาเจียน เวียนศีรษะ ระคายเคืองต่อหลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคืองตาแดง เจ็บตา

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ผลกระทบของการสัมผัสสารเรื้อรัง มีอวัยวะเป้าหมายคือ ทำลายตา

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง ฟีนอล (Phenol) เบสแก่ กรดคลอไรด์ กรดแอนไฮดราย

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : แสง ความร้อน เปลวไฟและแหล่งจุดติดไฟอื่น ๆ

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            160

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

         ค่า LEL % :    

         UEL % :       

         NFPA Code :   12312264_10207269073538593_1766735825_n

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิงให้ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับประเภทของเพลิงโดยรอบ

        – ฝุ่นของสารนี้สามารถทำให้เกิดส่วนผสมที่สามารถระเบิดได้

        – เมื่อเกิดเพลิงไหม้ทำให้ก๊าซพิษของคาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

         สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากแสงแดด และเก็บในภาชนะที่ป้องกันแสงได้

                – หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกตา ผิวหนัง เสื้อผ้าและหายใจเข้าไป

                – ล้างทำความสะอาดให้ทั่วภายหลังจากการเคลื่อนย้าย

                – เก็บในบริเวณที่เหมาะสมสำหรับการเก็บสารเคมีทั่วไป

         ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ขั้นตอนในการปฏิบัติในเหตุการณ์หกรั่วไหลหรือการปล่อยออกมาให้สวมใส่ชุดป้องกันอันตรายให้เหมาะสม

        – เก็บกวาดอย่างระมัดระวังและขนย้ายออกไป

        – กำจัดตามกฎระเบียบของทางราชการ

        – หลีกเลี่ยงการทำให้ฝุ่นฟุ้งกระจาย

         การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ทำการผายปอด หากหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้กระตุ้นให้อาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                        – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                        – ความสามารถในการย่อยสลาย : สามารถกำจัดได้อย่างง่ายดาย

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. : 

         OSHA NO. :   

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

         วิธีการวิเคราะห์ :         

         ข้อมูลอื่น ๆ : 

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :         

         DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557