Ammonium nitrate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Ammonium nitrate

        ชื่อเคมีทั่วไป    Nitric acid ammonium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Ammonium (i) nitrate ; Nitric acid ; Ammonium salt; Varioform

        สูตรโมเลกุล      NH4NO3

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์13

        รหัส IMO        12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.  6484-52-2        

        รหัส EC NO.   –

        UN/ID No.      1942, 0222, 2426                          

        รหัส RTECS    BR 9050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        229-347-8

        ชื่อวงศ์        Ammonium salt / nitrate

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 6484-52-2                 
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ทำปุ๋ย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4820 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         –   

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 2

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  80.04

        จุดเดือด(0ซ.) : 210

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    170

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.8

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  190 ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    5.43 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.268

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.306 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในเอทานอล อะซิโตน เมทามอล แอมโมเนีย , อุณหภูมิสลายตัว : > 170 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การสูดดมเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อจมูก , เจ็บคอ , ไอ , หายใจถี่ๆ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองเป็นผื่นแดง , ปอดบวม และสารนี้สามารถซึมผ่านผิวหนัง จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไปจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน กล้ามเนื้อท้องหดเกร็ง ผิวหนังซีดเป็นสีน้ำเงิน อ่อนเพลีย

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลายเลือด ระบบประสาทส่วนกลาง ทางเดินอาหาร

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี่มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่เข้ากันไม่ได้ เมื่อปนเปื้อนน้ำมัน ถ่านชาโคล (Chacoal) หรือสารอินทรีย์อื่น ๆ จะทำให้เกิดการระเบิดขึ้น เหล็กกล้า ผงโลหะ โลหะอัคลาไลคาร์ไบด์ ไนไตรท์ สารประกอบแอมโมเนีย สารออกซิไดซ์ สารอินทรีย์ ผงอลูมิเนียม สารอินทรีจำพวกไนไตรท์ ซัลไฟด์ เกลือของออกไซด์โอโลจีนิค คลอเลท

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : การกัดกร่อนต่อโลหะ จะทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับผงโลหะ เสี่ยงต่อการเกิดไฟไหม้ และระเบิดได้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    003

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำในการดับเพลิง ห้ามใช้คาร์บอนไดออกไซด์ โฟม หรือผงเคมีแห้ง

                – การเผาไหม้ และการเผาไหม้และการสลายตัวเนื่องจากความร้อน ทำให้เกิดออกไซด์ของไนโตรเจนและแอมโมเนีย

                – สารนี้ทำปฏิกิริยารุนแรงกับผงโลหะ มีความเสียงต่อการเกิดไฟไหม้และการระเบิด

                – อาจจะลุกติดไฟขึ้นได้กับวัสดุติดไฟอื่นๆ

                – ส่วนผสมของแอมโมเนียไนเตรทตับน้ำมันอาจจะก่อให้เกิดการระเบิดได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่แห้ง และเย็น

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารติดไฟได้ แหล่งประกายไฟและความร้อน

                – ใช้สารในตู้ดูดควันสำหรับสารเคมีเท่านั้น

                – ล้างทำความสะอาดหลังการใช้งาน

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : แอมโมเนียไนเตรท (Ammonium nitrate)

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN : –

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – เก็บกวาดในลักษณะแห้ง เพื่อส่งไปกำจัดต่อไป

        – ล้างทำความสะอาดบริเวณที่หกรั่วไหล/ปนเปื้อน

        – ระมัดระวังการหายใจเอาสารนี้เข้าไป

 

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบากให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนกินเข้าไป ให้ดื่มนมหรือน้ำปริมาณมากๆ กระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ใช้ยาระบายประเภทโซเดียมซัลเฟต(1 ช้อนโต๊ะ ในน้ำ 0.2 ลิตร ) นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :  จะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยน้ำใน้ำ เป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม และอาจมีผลกระทบในการปฏิสนธิ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –         

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –     

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 30

        DOT Guide :   140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557