Arsenic trioxide

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Arsenic (III) oxide or Diarsonic trioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Arsenic trioxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Arsenic oxide ; Arsenous trioxide; Arsenous acid; Arsenous oxide; Arsenic sesquioxide; White Arsenic; Diarsenic Trioxide; Crude Arsenic; Arsenic (white); Arsenious oxide; Arsenic (III) trioxide; Arsenous anhydride; Arsenite; Arsenolite; Arsenous acid anhydride; Arsenous oxide anhydride; Arsodent; Claudelite; Claudetite; Arsenic oxide (3); Arsenic oxide (As2O3); Arsenic sesquioxide (As2O3); Arsenicum album ; Diarsenic oxide; ARSENIOUS OXIDE, 99.999%;

        สูตรโมเลกุล      AS2O3

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์15

        รหัส IMO        12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.  1327-53-3    

        รหัส EC NO.    033-003-00-0

        UN/ID No.      1561            

        รหัส RTECS     CG 3325000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-481-4

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       JT.BAKER Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1327-53-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร , ทำโลหะอัลลอยด์ เนื้อสี เซรามิค สารกัดสีในแก้ว สารฆ่าแมลง สารถนอมเนื้อไม้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    14.6 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        0.012 (ppm)        

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        0.012(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 4

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผง ผลึก ของแข็ง

        สี : ขาว ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  197.84

        จุดเดือด(0ซ.) : 465

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    315

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        3.74

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  3.7 ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  8.09

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.12  ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป สารหนูจะทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุมีอาการไอและมีเสมหะ กระสับกระส่าย หายใจติดขัด ปอดบวม และน้ำท่วมปอด ภาวะที่ผิวหนังเป็นสีน้ำเงินเนื่องจากขาดออกซิเจน และเสียงหายใจที่ผิดปกติและมีอาการเหมือนกับการส้มผัสโดยการกินหรือการกลืนเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง : จะเป็นเหตุให้เกิดการระเคือง อาการผื่นแดง การทำให้คัน และเจ็บปวด

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป ทำให้เกิดอาการอาเจียน , ท้องร่วง , หนาวสั่น , ความดันโลหิตต่ำ , อ่อนเพลีย , ปวดศีรษะ , เป็นตะคริว , ชักและเกิดอาการโคมาได้ อาจก่อให้เกิดการทำลายตับและไต อาจทำให้เสียชีวิตได้เนื่องจากระบบหายใจล้มเหลว

        สัมผัสถูกตา : สัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองกับทำให้เกิดอาการคัน การไหม้ น้ำตา จะทำให้เยื่อตาขาวถูกทำลาย

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สัมผัสเรื้อรัง สัมผัสกับสารหนู (Arsenic)กับผิวหนังบ่อย ๆ เป็นเวลานานจำทำให้ผิวหนังสีอ่อนลง

        – อาการบวมน้ำ ผิวหนังอักเสบ และเสียหายได้รับบาดเจ็บ

        – การหายใจเอาฝุ่นเข้าไปบ่อย ๆ หรือเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เกิดอันตรายต่อผนังแบ่งโพรงจมูก

        – สัมผัสเรื้อรังจากการหายใจเข้าไปหรือกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้ผมร่วง น้ำหนักลด

        – กลิ่นกระเทียมเมื่อหายใจเข้าและการขับเหงื่อออกมา

        – น้ำลายและเหงื่อที่ออกมากเกินไป

        – ระบบเส้นประสาทส่วนกลางถูกทำลาย ตับอักเสบ

        – อาการปั่นปวนในกระเพาะอาหาร

        – หลอดเลือดหัวใจถูกทำลาย และไตและตับถูกทำลาย

        – สารประกอบของสารหนู (Arsenic) รู้ว่าเป็นสารก่อมะเร็งต่อมนุษย์และเป็นสารที่มีผลต่อความผิดปกติของทารกในครรภ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : คงตัวภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บสารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวเป็นควันเป็นพิษปลดปล่อยของ arsenic เมื่อได้รับความร้อนเพื่อการแยกออกเป็นส่วนๆ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ กรดแทนนิค infusion cinchona และผัก อื่นๆ infusions และ decoctions สารละลายเหล็ก รับปิเดี่ยมคาร์ไบด์ คลอรีนไตรฟลูออไรด์ ฟลูออรีน ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ออกซิเจน ฟลูออไรด์ กรด เบส โซเดียมคลอเรต การถูสังกะสี ปฏิกิริยาโลหะอื่นๆ และ ปรอท

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : กัดกร่อนโลหะเมื่อได้รับความชื้น

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    300

         สารดับเพลิง : ฉีดน้ำให้เป็นฝอย สารเคมีแห้ง แอลกอฮอล์ โฟม หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – ไม่ต้องพิจารณาอันตรายจากการระเบิด

                – เพลิงไหม้อาจเกิดขึ้นได้เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นหรือสัมผัสกับแหล่งจุดติดไฟ

                – ฉีดน้ำให้เป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหล่อเย็นภาชนะที่ถูกเพลิงไหม้

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และเครื่องช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกสนิทอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดแน่น

                – เก็บภายในที่ที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศพื้นที่

        สถานที่เก็บ :

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บแยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

                – สำหรับการบำรุงรักษารอยแตกร้าวภายใน หรือที่ซึ่งมีการสัมผัสในระดับมากเกินกว่าที่กำหนด

                – เปลี่ยนเสื้อผ้าที่สะอาดสวมใส่ในตอนเลิกงานของแต่ละวัน

                – อาบน้ำ ทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

                – ล้างมือก่อนการกินอาหารและดื่ม หรือไม่กินก็ตาม

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้จะเป็นอันตรายเมื่อถังเปล่ามีกากสารเคมีหลงเหลืออยู่ ( ฝุ่นของแข็ง )

                – สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อควรระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : RQ อาเซนิคไตรออกไซด์

                ประเภทอันตราย : –

                หมายเลข UN : 1561

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 500 ML

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

         – สวมเครื่องมือเป็นการป้องกันส่วนตัวเหมาะสม

         – เก็บกวาดและบรรจุใส่ภาชนะเพื่อเก็บคืนหรือนำไปกำจัด

         – การดูดหรือการกวาดขณะชื้นสามารถใช้ได้เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

         – ต้องรายงานการหกรั่วไหล การปนเปื้อนดิน น้ำและอากาศมากเกินกว่าปริมาณที่ต้องรายงาน

 

        การพิจารณาการกำจัด : ไม่ว่าสารอะไรก็ตามจะไม่สามารถทำได้อย่างปลอดภัย การนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องจัดการเช่นเดียวกับกากของเสียและส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัดกระบวนการใช้หรือการปนเปื้อนของสารนี้จะต้องเปลี่ยนแนวทางในการจัดการของเสียใหม่ กฏระเบียบข้อบังคับของราชการและท้องถิ่นจะแตกต่างกันจากฎระเบียบการกำจัดของรัฐบาลกลาง การจัดการกับภาชนะบรรจุและมิได้ใช้แล้วจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับกฏหมาย ความต้องการของส่วนกลางและท้องถิ่น

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าได้ให้เคลื่อนย้ายออกไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจน รับการดูแลจากแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากินหรือการกลืนเข้าไป กระตุ้นให้อาเจียนโดยทันทีโดยแพทย์ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยหมดสติ ให้อยู่ในความดูแลของแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนออก ได้รับการดูแลทางการแพทย์โดยทันที ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อน 15 นาที ยกเปลือกตาขึ้น ลง นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน , เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำเป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดิบ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –        

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –  

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 36

        DOT Guide :   151

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557