Ascorbic Acid

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  L-ascorbic acid

        ชื่อเคมีทั่วไป    Vitamin c

        ชื่อพ้องอื่นๆ      L-3-ketothreohexuronic acid; Ascorbicap; Cebid; Cecon; Cevalin; Cemill; Sunkist; L-(+)-Ascorbic Acid; Acid Ascorbic; Antiscorbic vitamin; Antiscorbutic vitamin; Cevitamic acid; 3-Keto-L-gulofuranolactone; L-3-ketothreohexuronic acid lactone; Laroscorbine; L-lyxoascorbic acid; 3-Oxo-L-gulofuranolactone; L-xyloascorbic acid; Adenex; Allercorb; Cantan; Proscorbin; Vitacin; AA; Arco-cee; Ascoltin; Ascorb; Ascorbajen; Ascorbicab; Ascor-b.i.d.; Ascorbutina; Ascorin; Ascorteal; Ascorvit; Cantaxin; Catavin c; Cebicure; Cebion; Cee-caps td; Cee-vite; Cegiolan; Ceglion; Celaskon; Ce lent; Celin; Cemagyl; Ce-mi-lin; Cenetone; Cereon; Cergona; Cescorbat; Cetamid; Cetemican; Cevatine; Cevex; Cevibid; Cevimin; Ce-vi-sol; Cevital; Cevitamin; Cevitan; Cevitex; Cewin; Ciamin; Cipca; Citriscorb; C-level; C-Long; Colascor; Concemin; C-Quin; C-Span; C-vimin; Dora-c-500; Davitamon c; Duoscorb; L-threo-hex-2-enonic acid, gamma-lactone; Hicee; Hybrin; IDO-C; Lemascorb; Liqui-cee; Meri-c; Natrascorb injectable; 3-Oxo-L-gulofuranolactone (enol form); Planavit c; Redoxon; Ribena; Roscorbic; Scorbacid; Scorbu-c; Secorbate; Testascorbic; Vicelat; Vicin; Vicomin c; Viforcit; Viscorin; Vitace; Vitacee; Vitacimin; Vitamisin; Vitascorbol; Xitix; Ascorbic Acid;

        สูตรโมเลกุล      C6H8O6

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์16

        รหัส IMO        –

        CAS No.    50-81-7      

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      –              

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        200-066-2

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       Ashland Chemical Co.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 50-81-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารบำรุงร่างกาย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    11900 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         –     

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ของแข็ง ผง

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  176.13

        จุดเดือด(0ซ.) : –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  192

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        –

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  33 ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    2.2ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   7.20

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.14 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :  สารนี้สามารถละลายได้ในเอทานอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป สารเคมีนี้เป็นฝุ่นหรืออาจจะทำให้เกิดฝุ่นได้ การหายใจเอาสารเคมีนี้เข้าไปในปริมาณเล็กน้อยระหว่างการเคลื่อนย้ายจะไม่เป็นอันตราย แต่หากหายใจไปในปริมาณมากอาจเป็นอันตรายได้และจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก ลำคอ และทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง มีอาการผื่นแดง ผิวหนังไหม้ และผิวหนังพอง สารนี้จะไม่ถูกดูดซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินสารนี้เข้าไป จะไม่เป็นอันตราย แต่จะทำให้เกิดการทำงานผิดปกติของกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา ทำให้เกิดการระคายเคือง เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน น้ำตาไหล ตาแดง และตาบวม

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การกินวิตามินซีในปริมาณมาก ๆ อาจทำให้เกิดก้อนนิ่วในไตและกระเพาะปัสสาวะ จะพบอาการของโรคลักปิดลักเปิด โรคผิวหนัง และโรคเกี่ยวกับเหงือกในทารกเกิดซึ่งมารดากินวิตามินซีในปริมาณมาก ในระหว่างตั้งครรภ์ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตาม ACGIH ,IARC , NTP , NIOSH , OSHA

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง สารที่สามารถทำปฏิกิริยาเคมีกับโลหะ เช่น อลูมิเนียม สังกะสี แมกนีเซียม ทองแดง เป็นต้น แล้วทำให้เกิดการาปล่อยก๊าซไฮโดรเจน ซึ่งสามารถเกิดการระเบิดได้เมื่อผสมกับอากาศในอัตราส่วนที่เหมาะสม

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :       –

        NFPA Code :    100

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย หรือคาร์บอนไดออกไซด์

                – อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างฝุ่นของสารอินทรีย์กับอากาศสามารถเกิดการระเบิดได้

                – สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว/เผาไหม้ : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์

                – ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันสารเคมี และอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่าแต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว ของแข็งอาจเป็นอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระมัดระวังทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล กรณีสารหกรั่วไหลเล็กน้อย เก็บกวาดเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่

         – สารที่หกรั่วไหลปริมาณมาก ให้เก็บสารที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะบรรจุ

         – ทำความสะอาดบริเวณที่สารหกรั่วไหล

         – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

                    – หน้ากากป้องกันหายใจ ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่น ของ 3 m No.8710 หรือ 9900 หรือหน้ากากป้องกันฝุ่นตามข้อเสนอแนะของ NIOSH/MSHA

                    – ถุงมือให้ใช้วัสดุที่ทำมาจากพีโอพริน

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไป หากมีอาการผิดปกติขึ้นให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกมาสู่บริเวณที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ให้ถ้ามีอาการหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วยให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป แล้วหากเกิดอาการผิดปกติให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำและสบู่ ปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก หากมีอาการผิดปกติขึ้นให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :   ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที โดยเปิดเปลือกตาให้กว้างขณะทำการล้างและนำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – สารนี้สามารถกำจัดได้ง่าย

                – ไม่ส่งผลเป็นอันตรายต่อระบบบำบัดน้ำทิ้งและระบบนิเวศน์หากมีการใช้และจัดการผิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –    

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : –

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557