Cuprous chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Copper (I) chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป    Copper chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Copper chloride; Cuprous monochloride; Copper monochloride

        สูตรโมเลกุล      CuCl

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์27

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7758-89-6

        รหัส EC NO.  029-001-00-4

        UN/ID No.      2802                  

        รหัส RTECS    GL 6990000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-842-9

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  Alfa Aesar, A Johnson Matthey Company Joknson Matthey Catalog Company, Ine

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7758-89-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในกระบวนการแยกสารด้วยไฟฟ้า
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 140 (หนู) (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   1008 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.0125 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผง,ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  98.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  1490

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  430

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        4.14

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.99 ที่ 546 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.05     

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ และต่อเยื่อเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้มีการอาเจียน เป็นเกิดแผลในกระเพาะอาหาร และมีอาการวิงเวียน และเกิดเป็นโรคโลหิตจางได้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา ทำให้เกิดการระคายเคืองตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่จัดเป็นสารก่อมะเร็งตามทะเบียนรายชื่อ EPA, IARC, NTP, OSHA หรือ ACGIA

        การสัมผัสเรื้อรัง: สารประกอบของคอปเปอร์จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ เป็นไข้ ภาวะเม็ดเลือดแดงแตก ทำอันตรายต่อตับ ปอด ไต และตับอ่อน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : น้ำ ความชื้น สารออกซิไดซ์ แสงสว่าง และอากาศ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCI) การสลายตัวจะไม่เกิดขึ้นถ้ามีการใช้และการเก็บไปตามข้อกำหนดที่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมชุดป้องกันสารเคมี

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่แห้งและเย็นและมีการระบายอากาศที่ดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากน้ำ ความชื้น และสารออกซิไดซ์

                – ให้เก็บภายใต้ก๊าซเฉื่อย และเก็บไว้ในที่มืด

                – ป้องกันการทำให้เกิดฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : คอปเปอร์คลอไรด์

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : –

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย และควบคุมบุคคลที่ไม่ได้สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายออกจากพื้นที่

        – ต้องแน่ใจว่ามีวิธีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        – อย่าให้สารเคมีรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ได้รับการอนุญาตของหน่วยงานราชการ

        – ให้ใช้น้ำฉีดทำความสะอาดหัวจากการเก็บกวาดเรียบร้อยแล้วบริเวณที่หกรั่วไหล

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่โดยให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ โดยให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : 

                  – เมื่อรั่วไหลสู่แหล่งน้ำ สารนี้จะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ, น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  

        OSHA NO. :    

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :              154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557