Mangan(IV)-oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Manganese (vi) oxide; Manganese (IV) dioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Manganese dioxide; Manganese peroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Manganese black ; Cement; Black manganese oxide; Cement black; Manganese Black; Manganese Peroxide; Black Dioxide; Manganese oxide

        สูตรโมเลกุล      MnO2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์33

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.        1313-13-9

        รหัส EC NO.  025-001-00-3

        UN/ID No.      1479       

        รหัส RTECS    OP 0350000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-202-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1313-13-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ผลิตสารทำความสะอาด การผลิตแบตเตอรี่ และใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    >3478 (หนู) (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.41(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.056(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :          กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผง

        สี : เทา, ดำ, น้ำตาลและดำ

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  86.94

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 533

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        5.0

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลาย ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.56

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.28 ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้ไม่ละลายในน้ำ ไนตริก และกรดซัลฟิวริกที่เย็น       

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปทำให้เกิดอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หรือไข้ที่เกิดจากการสัมผัสไอของโลหะ จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะไม่มีผลต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป ไม่ระบุไว้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง เจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อาการเรื้อรัง : การได้รับแมงกานีสซึ่งเป็นสารพิษโดยการสัมผัสทางการหายใจ และการกลืนกินเข้าไปเป็นเวลานานๆ ทำให้มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง ในระยะเริ่มต้นจะมีอาการเชื่องช้า ง่วงนอน ขาไม่มีแรง ในกรณีที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการทางอารมณ์แปรปรวน กล้ามเนื้อหดเกร็ง ขณะเดินเคลื่อนไหว อาการจะทรุดลง ผู้ป่วยมีอาการคล้ายกับโรค Parkinson มีผลกระทบกับระบบหมุนเวียนเลือดภายในไต และผลกระทบจากการได้รับสารแมงกานีสเรื้อรังอาจจะทำให้เกิดอาการผิดปกติทางจิตได้ การหายใจเข้าไปเป็นระยะเวลานานๆ เป็นสาเหตุทำให้เป็นอันตรายต่อปอด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้การใช้และการเก็บปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่สามารถเกิดการออกซิไดซ์ได้ง่าย ได้แก่ ซัลเฟอร์ซัลไฟล์ ฟอสไฟด์ ไฮโปฟอสไฟท์ คลอเรต เปอร์เซียมเอไซด์ คลอรีนไตรฟูโอไรด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ควรให้สารเคมีหลีกเลี่ยงจากความร้อน เปลวไฟ แหล่งที่ทำให้เกิดประกายไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ควันพิษจากสารเคมีอาจจะมาจากการสลายตัวจากความร้อน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่มีความเป็นอันตราย ทำปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริก จะเกิดเป็นรูปก๊าซคลอโรซีฟ คลอไรด์ การให้ความร้อนหรือการสลายตัวของสารเคมีออกแกนนิก สามารถทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้ ผงเคมีแห้ง หรือ คาณ์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้ไม่ลุกไหม้ติดไฟ แต่สารเคมีเป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรงและเกิดปฏิกิริยาความร้อนกับสารรีคิวซิงซ์ หรือลุกติดไฟได้ทำให้เกิดการจุดติดไฟขึ้น

                – เมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะก่อให้เกิดการเผาไหม้รุนแรงอย่างมาก

                – ในการเกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศภายในตัว(SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บไว้ในภาชนะที่มิดชิด และเก็บไว้ในที่ที่มีความเย็น แห้ง และพื้นที่ที่มีการระบายอากาศ เพื่อป้องกันปฏิกิริยา

        สถานที่เก็บ :

                – ควรเก็บแยกออกจากแหล่งที่มีความร้อน และที่มีการจุดประกายไฟ

                – หลีกเลี่ยงการเก็บรักษาที่เป็นอันตรายต่อร่างกายและที่มีความชื้น

                – หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม้ และให้แยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ สารที่สามารถเกิดไฟได้ สารออกแกนิค หรือสารที่สามารถเกิดการออกซิไดซ์อย่างรวดเร็ว

                – ภาชนะที่บรรจุสารอาจจะเป็นอันตรายจากสารที่เหลือทิ้งไว้ เช่น ฝุ่นละออง ของแข็ง

                – สังเกตได้จากคำเตือนและรายละเอียดในการป้องกันของผลิตภัณฑ์

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ออกซิไดซ์โซลิก (Oxidizing solid) แมงกานีสออกไซด์ (NOS)

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN :  1479

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 4 ml

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุสารเคมีรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่สารเคมีหกรั่วไหล

        – ป้องกันผู้คนให้อยู่นอกบริเวณสารเคมีหกรั่วไหลและควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีที่เหมาะสม

        – ควรเก็บสารไว้ในสถานที่และภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสำหรับการกำจัดหรือจัดเก็บ

        – การใช้วิธีซึ่งไม่ทำให้เกิดฝุ่นขึ้น เก็บวัสดุที่ลุกไหม้ติดไฟได้ เช่น ไม้ กระดาน น้ำมัน ออกจากสารเคมีที่หกรั่วไหล

        การพิจารณาการกำจัด สารทุกอย่างจะไม่ปลอดภัยสำหรับการหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ถึงแม้ว่าสารนี้จะไม่อยู่ในบัญชีรายชื่อของเสีย ที่มีอันตรายต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับของทางราชการ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด และถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกินหรือการกลืนเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้น้ำปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยตอนหมดสติให้อยู่ในการดูแลของแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ชำระล้างบริเวณที่สัมผัสสารเคมีด้วยสบู่และน้ำ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ ขณะทำการล้าง ส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          30

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557