Potassium bromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium bromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Bromic acid, potassium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Potassium Bromate Baher Anal ACS Rgnt;

        สูตรโมเลกุล    KBrO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์43

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.      7758-01-2

        รหัส EC NO.  035-003-00-6

        UN/ID No.    1484

        รหัส RTECS    EF 8725000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-829-8

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7758-01-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้ผลิตยา, ใช้ทำบล็อกที่แกะสลัก
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    321(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :   –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล : 167.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  370

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   434

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :                        3.27

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  7 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5-9 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.83

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.15 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – อุณหภูมิการสลายตัว >430 องศาเซลเซียส

                – ละลายในน้ำ

                – ไม่ละลายใน Me2CO

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือก ทำให้เกิดอาการไอ หายใจถี่รัว เวียนศรีษะ ปวดศรีษะ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดอาการระคายต่อผิวหนังและเยื่อผิวหนัง เป็นผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป อาจทำให้เวียนศรีษะ คลื่นไส้ ปวดท้อง หมดสติ ผิวหนังสีคล้ำ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง ปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารประกอบของสารนี้กับโบรมีนมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางและเลือด ซึ่งส่งผลให้ไตและกระเพาะปัสสาวะบาดเจ็บได้ เป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม II และเกิดปฏิกิริยา     

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  การสลายตัวจะไม่เกิดขึ้นถ้ามีการใช้ และการเก็บ ตามข้อกำหนดที่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไฮโดรเจนโบรไมด์ ออกซิเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะทำปฏิกิริยากับสารรีดิวซิ่ง และสารไวไฟ

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้วิธีดับเพลิงให้เหมาะสมกับประเภทเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่เป็นสารไวไฟ

                – สารนี้เป็นออกซิไดซ์ ความร้อนของการเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวส์ซิ่ง หรือสารติดไฟได้ จะทำให้เกิดลุกติดไฟขึ้น

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีฝาปิดมิดชิด

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่ป้องกันการจุดติดไฟ

                – เก็บแยกห่างจากสารรีดิวซ์และสารที่สามารถติดไฟได้

                – ต้องมั่นใจว่ามีการระบายอากาศที่ดีในบริเวณสถานที่ทำงาน

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุและเปิดอย่างระมัดระวัง

                – สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์และความร้อนจากการทำปฏิกิริยารีดิวซิ่งหรือสารติดไฟได้ จะทำให้เกิดการติดไฟขึ้น

                – สารนี้สามารถลดอุณหภูมิการจุดติดไฟสารไวไฟ

                – เก็บห่างจากสารไวไฟ สารรีดิวซิ่ง

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : โปแตสเซียมโบรเมท

                ประเภทอันตราย :  5.1

                หมายเลข UN : UN 1484

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ข้อควรระวังความปลอดภัยจากอุบัติเหตุรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

        – อพยพคนออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ควบคุมบุคคลที่ไม่มีการป้องกันอันตรายให้เข้าในบริเวณนี้

        – ต้องแน่ใจว่ามีวิธีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        – อย่าปล่อยให้สารเคมีรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยปราศจากการอนุญาตของหน่วยงานราชการ

        การพิจารณาการกำจัด : ปรึกษากับหน่วยราชการ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วยรักษาคนไข้ให้อบอุ่น ขอคำปรึกษาทางการแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ให้ขอความช่วยเหลือทางการแพทย์ทันที หรือนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่โดยให้น้ำไหลผ่าน

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้เปิดตากว้าง ๆ ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ เป็นเวลานาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที ให้ปรึกษาแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ, น้ำเสีย หรือดิน อาจส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ หากมีการจัดการหรือกำจัดอย่างไม่เหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :     –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        29

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557