Potassium chromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium chromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Potassium chromate (VI)

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Chromic acid, dipotassium salt; Chromic acid (H2CrO4), dipotassium salt;

        สูตรโมเลกุล    K2Cr2O4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์46

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.      7789-00-6

        รหัส EC NO.  024-006-00-8

        UN/ID No.    3077

        รหัส RTECS    GB 2940000

        รหัส EUEINECS/ELINCS      232-140-5

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7789-00-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นสารวิเคราะห์ และทดสอบทางเคมี ( reagent ) ในห้องปฏิบัติการ           
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    18 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.0125(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.00625(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี :  เหลือง

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  194.19

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   975

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 6.7

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  69.9 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : 8.6-8.8 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   7.94

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =    0.125 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลผุพอง และลำคออักเสบ ไอ หายใจถี่ และติดขัด อาจทำให้เป็นโรคภูมิแพ้ ถ้าสัมผัสกับสารนี้ปริมาณมากจะทำให้เกิดเป็นโรคน้ำท่วมปอด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนทำให้เป็นผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และเป็นแผลไหม้อย่างรุนแรง ผงฝุ่นและสารละลายที่เข้มข้นของสารนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ถ้าสัมผัสผิวหนังที่แตกจะก่อให้เกิดการอักเสบ และดูดซึมผ่านผิวหนัง ทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกาย มีผลต่อการทำงานของไต และตับ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินสารนี้เข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้ปาก ลำคอ และท้องเป็นแผลไหม้ อาจทำให้ตายได้ ทำให้เจ็บคอ อาเจียน หมดสติ กล้ามเนื้อหดเกร็ง กระหายน้ำ ทำลายการทำงานของตับ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้มองไม่ชัด ตาแดง ปวดตาและเนื้อเยื่อเป็นแผลไหม้อย่างรนแรง ทำลายกระจกตา หรือทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง

                – สารนี้มีผลทำลายปอด เลือด ตับ ไต และทางเดินอาหาร

                – สารนี้เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพันธุ์กรรม

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารรีดิวซ์ ไฮดราซีน วัตถุที่ติดไฟได้ สารอินทรีย์ที่เผาไหม้ได้ หรือสารที่ออกซิไดซ์ได้ง่าย ( กระดาษ ไม้ กำมะถัน อลูมิเนียม หรือพลาสติก )

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ก๊าซโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   301

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิง ใช้น้ำปริมาณมาก ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุ ที่สัมผัสกับเปลวไฟ

                – สารนี้ไม่สามารถเผาไหม้ได้แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์ และเมื่อสารนี้สัมผัสกับความร้อนหรือสารที่เผาไหม้ได้ จะลุกจุดติดไฟ ขึ้น และสลายตัวให้ก๊าซ ออกซิเจนซึ่งจะเพิ่มการเผาไหม้

                – ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันและอุปกรณ์ช่วยหายใจ ชนิดที่มีถังอากาศในตัว ( SCBA )

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ไม่ควรเก็บในที่ที่เป็นพื้นไม้

                – หลังจากเคลื่อนย้ายควรทำความสะอาด ร่ายกายให้ทั่วถึง และทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Potassium chromate

                ประเภทอันตราย :  9

                หมายเลข UN : UN 3077

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บกวาด หรือดูดด้วยเครื่องดูดฝุ่น ขณะที่สารยังชื้นเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของฝุ่น

        – เก็บกวาดใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำตามปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ ให้นำส่งแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ผลกระทบทางชีวภาพ : เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :      –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557