Potassium hydroxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium hydroxide

        ชื่อเคมีทั่วไป  –

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Potassium hydrate; Caustic potash; Lye; Potassa; Caustic potash, liquid

        สูตรโมเลกุล    KOH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์50

        รหัส IMO     12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      1310-58-3

        รหัส EC NO.  019-002-01-5

        UN/ID No.  1813, 1814

        รหัส RTECS    TT 2100000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-181-3

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
              1310-58-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้ในกระบวนการผลิตแบตเตอรี่ เป็นอัลคาไลน์เซลล์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    273 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     0.88(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผงของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  56.1

        จุดเดือด(0ซ.) :  1324

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   361

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      2.044

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  110 ที่ 25 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  >13.5 ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.30

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.44 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป เป็นอันตรายต่อเยื่อเมืองและทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ หายใจติดขัด โรคปอดอักเสบ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และดูดซึมผ่านผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนเข้าไปจะเป็นอันตราย ทำให้ไอ มึนงง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน คอหอยอักเสบ หลอดอาหารอักเสบ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ความร้อนเหนือจุดหลอมเหลว, ดีบุก, สารประกอบไนไตร, สังกะสี, สารอินทรีย์, แมกนีเซียม, ทองแดง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ดูดซึม CO2 จากอากาศ, ความร้อนจากการเดือดของสารจะสูงมาก

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่สามารถเผาไหม้ได้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – ในขณะที่เกิดเพลิงไหม้จะเกิดฟูม/ก๊าซพิษซึ่งจะทำปฏิกิริยารุนแรงกับโลหะ จะปล่อยก๊าซไฮโดรเจนซึ่งเป็นก๊าซที่สามารถลุกติดไฟได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากการสัมผัสกับน้ำ

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล : กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – การเลือกประเภทถุงมือ : แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และ แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Polyvinyl Chloride ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และ แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆทันทีอย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆทันที อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ นำส่งไปพบแทพย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – สารนี้อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

                  – สารนี้จะส่งผลที่เป็นอันตราย เนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงพีเอช มีฤทธิ์กัดกร่อนแม้ในสภาพที่เจือจาง

                  – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ LC50 : 10 mg/l/96 hr.

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7401

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง                 

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – วิธีการวิเคราะห์ใช้การไตเตรท ( acid – bse titration )

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 1 um PTFE membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ถึง 4 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 10 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557