Sodium hydrogen orthophoshate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium monohydrogen phosphate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Disodium hydrogen phosphate

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Di-Sodium Hydrogenphosphate; Sodium Phosphate Dibasic; Disodium Phosphate; Di-sodium hydrogen orthophosphate; Phosphoric acid, disodium salt; Sodium monohydrogen phosphate (2:1:1); Dibasic sodium phosphate; Disodium monohydrogen phosphate; Disodium orthophosphate; Disodium phosphoric acid; DSP; Soda phosphate; Sodium acid phosphate; Disodium Monophosphate; Disodium Monohydrogen Orthophoshate; Sodium Phosphate Reagent Grade Dibasic;

        สูตรโมเลกุล    Na2HPO4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์63

        รหัส IMO     –

        CAS No.      7558-79-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  3077

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-448-7

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7558-79-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารอิมัลซิฟายเออร์ และบัฟเฟอร์ในอาหาร,สีย้อม,ผ้าไหม,การวิเคราะห์ทางเคมี,ในอุตสาหกรรมการเคลือบเงา เซรามิกซ์ สารลดแรงตึงผิว
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    > 1000 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผงของแข็ง

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  358-14

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  34

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.52

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 4.9

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  11

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  9.0-9.4 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  14.65

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.07 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเอาฝุ่นของสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและทางเดินหายใจ และการหายใจเอาสารนี้ที่มีความเข้มข้นสูงเข้าไป จะทำให้เกิดการไอและสำลักได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังซ้ำๆ เป็นเวลานาน จะทำให้เกิดอาการผิวหนังอักเสบได้ บุคคลที่มีภูมิไวต่อสารนี้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไป ถ้ากลืนกินเข้าไปปริมาณมาก จะเป็นอันตรายได้ ความเป็นพิษของเกลือโซเดียมอาจทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร ลิ้นบวม อ่อนเพลีย ความเครียด อาการเพ้อคลั่ง หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดก่อระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ โดยปกติสารนี้มีอันตรายเล็กน้อย และสามารถถูกขับออกจากร่างกายได้โดยรวดเร็ว แต่กรณีที่ไตผิดปกติเกลือของสารนี้จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นและทำให้เกิดอันตรายได้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  อัลคาลอยด์ แอนติโพริเดียม คลอโรรอลไฮเดรท ลีทอะซิเตรท ไฟโรกอรอล และรีซอลนอล

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ในกรณีที่เกิดไฟไหม้ให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ โฟมหรือผงเคมีแห้ง ให้เลือกใช้อุปกรณ์ในการดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพการเกิดเพลิง

                – สารนี้ไม่ใช้ของแข็งไวไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีปิดคลุมเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – สารนี้เป็นสารดูดความชื้นและมักจะเกาะกันเป็นก้อนในที่เก็บ เมื่อไม่ใช้สารนี้ควรจะปิดภาชนะให้แน่นสนิทตลอดเวลา

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศที่ดี

                – สารนี้ไม่มีฤทธิ์กัดกร่อนวัสดุ หรือเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการ ภาชนะบรรจุและการเคลื่อนย้าย

                – คำเตือนระหว่างการใช้งานควรป้องกันการทำลายหรือการเจาะรูภาชนะบรรจุ

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุหกรั่วไหล ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และอุปกรณ์ช่วยหายใจ

        – เก็บกวาดส่วนที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะที่ปิดแน่นสนิทสำหรับนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ให้ฉีดล้างบริเวณที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย ให้นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ หากผู้ป่วยอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ เพื่อเจือจาง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยสบู่และน้ำ ปริมาณมากๆ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที โดยเปิดเปลือกตาให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ : จะก่อให้เกิดการขาดออกซิเจนในแหล่งน้ำดื่ม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557