Sodium fluoride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium monofluoride

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium fluoride

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Disodium difluoride; Floridine; Florocid; Villiaumite; NaF; Sodium hydrofluoride; Sodium monofluoride; Trisodium trifluoride; Alcoa sodium fluoride; Antibulit; Cavi-trol; Chemifluor; Credo; Duraphat; Fda 0101; F1-tabs; Flozenges; Fluoral; Fluorident; Fluorigard; Fluorineed; Fluorinse; Fluoritab; Fluorocid; Fluor-o-kote; Fluorol; Fluoros; Flura; Flura-gel; Flura-loz; Flurcare; Flursol; Fungol b; Gel II; Gelution; Gleem; Iradicav; Karidium; Karigel; Kari-rinse; Lea-cov; Lemoflur; Luride; Luride lozi-tabs; Luride-sf; Nafeen; Nafpak; Na frinse; Nufluor; Ossalin; Ossin; Osteofluor; Pediaflor; Pedident; Pennwhite; Pergantene; Phos-flur; Point two; Predent; Rafluor; Rescue squad; Roach salt; Sodium fluoride cyclic dimer; So-flo; Stay-flo; Studafluor; Super-dent; T-fluoride; Thera-flur; Thera-flur-n; Zymafluor; Les-cav; Sodium Fluoride, 99.9%;

        สูตรโมเลกุล    NaF

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์62

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      7681-49-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  1690

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์                 Metallic halide (inorganic salt)

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า   Caledon Laboratories Ltd.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7681-49-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ฟอกขาวในอุตสาหกรรมกระดาษ สิ่งทอ และใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :     64 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :          146 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.46(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    1.46(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :     ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :      สำนักงานอาหารและยา

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง, ผลึก

        สี : ไม่มีสี , ขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  41.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  1695

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  998

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.78

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 1.45

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  > 10

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  7.4

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.72

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.58 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคือง เจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง เกิดภาวะลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจน อ่อนเพลีย สารนี้ดูดซึมและเกิดผลกระทบต่อระบบในร่างกายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังทำให้เกิดการระคายเคือง แผลไหม้ ผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน แผลพุพอง และทำให้เนื้อเยื่อบริเวณที่สัมผัสถูกทำลาย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้เจ็บคอ ปวดท้อง ท้องร่วง เป็นตะคริวในท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตลดลง อ่อนเพลีย อาจทำให้เกิดการทำลายสมองและไตได้ และการสัมผัสที่ความเข้มข้นที่ทำให้เสียชีวิตได้ (5-10 g) และก่อให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนเพลีย ชัก เกิดภาวะการทำงานไม่ประสานกัน หายใจติดขัด ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทำงานผิดปกติ และทำให้เสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา สายตาพล่ามัวและอาจทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : ผลกระทบต่อการสัมผัสสารนี้เป็นระยะเวลานานทางการหายใจจะก่อให้เกิดอาการหายใจติดขัด ไอ อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น และเกิดภาวะลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภูมิต่ำกว่า 1800 องศาเซลเซียส

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์อย่างแรง กรดแร่เข้มข้น แก้ว

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่มี

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   เกิดออกไซด์ของคาร์บอนและไนโตรเจน ฟูม/ก๊าซพิษของไฮโดรเจนและโซเดียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะทำปฏิกิริยากับกรดฟอมิคที่สามารถระเบิดได้ ทำปฏิกิริยารุนแรงกับอะซิโตนไนไตรส์เซลูโลส สารนี้สามารถทำปฏิกิริยากับกรดทำให้เกิดไฮโดรเจนฟลูออไรด์ซึ่งเป็นพิษและมีฤทธิ์กัดกร่่อนรุนแรง

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   200

         สารดับเพลิง : ให้ใช้สารเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ใช้น้ำฉีดให้เป็นฝอย และโฟม

                – สารนี้จะเกิดติดไฟจากความร้อน, ประกายไฟ เปลวไฟ

                – ไอระเหยของสารนี้อาจไหลแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดติดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุอาจเกิดการระเบิดขึ้นได้จากความร้อนและเปลวไฟ

                – ไอระเหยสามารถทำให้ระเบิดได้ทั้งในร่มและกลางแจ้งหรือในท่อ

                – อันตรายจากการเผาไหม้จะเกิดฟูม/ก๊าซพิฒของคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ และไอระเหย

                – ให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกถ้าทำได้โดยปราศจากความเสี่ยง

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิง เพื่อป้องกันการระเบิดให้ออกห่างจากด้านท้ายของภาชนะบรรจุ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการสัมผัสโดยตรงกับแสง และป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งจุดติดไฟ เปลวไฟและการเอื้อมถึงของมือเด็ก และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : –

                ประเภทอันตราย :  6.1 , 9.2

                หมายเลข UN : UN 1690

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – หยุดการรั่วไหลของสารถ้าสามารถหยุดได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ดูดซับสารที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุอื่น ๆ และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดสำหรับนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่, การดื่มหรือการกิน

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPD/PPR) อย่างเหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

                – ถุงมือให้เลือกใช้วัสดุที่ทำมาจากไนไตร์ ยาง นีโอพริน PVC หรือซาราเนก TM

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 12.5 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 5

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ ซึ่งเป็นแบบ quarter mask โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 62.5 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองฝุ่น และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าพร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                        – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                        – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ แล้วนำไปพบแพทย์โดยด่วน ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้บ้วนล้างปากด้วยน้ำสะอาดและนำผู้ป่วยไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  –  ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 7902 , 7906

        OSHA NO. :   ID 110

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 cellulose ester filter

                –  อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 – 2 ลิตรต่อนาที

                –  ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด 12 ลิตร -สูงสุด 800 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557