Zinc

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Zinc

        ชื่อเคมีทั่วไป  Zinc dust

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Blue powder ; Zinc Powder or Dust

        สูตรโมเลกุล    Zn

        สูตรโครงสร้าง   –

        รหัส IMO     041042

        CAS No.      7440-66-6

        รหัส EC NO.   031-001-00-1

        UN/ID No.    1436, 1435

        รหัส RTECS    ZG 8600000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-175-3

        ชื่อวงศ์                Metal oxide

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า    Van Waters & Rogers LTD

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7440-66-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ :   ใช้ทำแผ่นสังกะสี และอัลลอยด์ของโลหะ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :   –

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    10 mg/m3

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผง ของแข็ง

        สี : เทา

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  65.37

        จุดเดือด(0ซ.) :  906

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 420

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :  7.1

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) : 0.99

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลาย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.67

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.37 ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคือง เป็นไข้ หนาวสั่น(Meal fever) ไอ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปอาจเกิดอาการหนาวสั่น เป็นไข้ ท้องร่วง อาเจียน เป็นตะคริวในท้อง อ่อนเพลีย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ผงสังกะสี ฝุ่น และฟูม/ก๊าซของสารไม่เป็นพิษต่อมนุษย์โดยการหายใจเข้าไป การหายใจเข้าไปทำให้มีรสหวาน, คอแห้ง, ไอ, อ่อนเพลีย, หนาว, เป็นไข้, คลื่นไส้, อาเจียน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ก๊าซฮาโลเจน กรด เบส สารออกซิไดซ์ซึ่งอาจจะทำให้เกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรงหรือเป็นสาเหตุทำให้ไฮโดรเจนเข้ามาเกี่ยวข้อง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความชื้น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :  ความร้อนจะทำให้เกิดฟูมของซิ้งค์ออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ฝุ่นปริมาณมากพอที่จะทำให้เกิดลูกไฟขึ้นเองและลูกไฟติดเมื่อสัมผัสอากาศ การสัมผัสกับกรดหรืออัลคาไลด์ไฮดรอกไซด์จะทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ระเบิดได้ เมื่อถูความร้อนจะทำให้เกิดซิ้งค์ออกไซด์

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  600

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงแห้ง ทรายแห้ง และหลีกเลี่ยงการใช้น้ำในการดับเพลิง

                – เป็นเพลิงประเภท D (โลหะติดไฟ)

                – การดับเพลิงใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นอุปกรณ์และภาชนะบรรจุ ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – สารอันตรายจากการเกิดเพลิงไหม้จะทำให้เกิดฟูม/ก๊าซพิษของซิ้งค์ออกไซด์

                – ฝุ่นที่ละเอียดอาจเกิดเป็นส่วนผสมที่ระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับอากาศ ถ้ามีความเข้มข้มสูงกว่า 480กรม/ลบ.ม มีการจุดติดไฟ

                – การสัมผัสกับกรดหรือไฮดรอกไซด์อัลคาไลด์ จะทำให้เกิดไฮโดรเจน

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง และมีอากาศถ่ายเทอย่างดี

        สถานที่เก็บ

                – ควรเก็บให้ห่างประกายไฟและเปลวไฟ ความร้อนจากไอน้ำ ฝุ่น

                – เก็บให้ห่างจากกรดไฮดรอกไซด์อัลคาไลด์

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Zine dust

                ประเภทอันตราย :  4.3,4.2

                หมายเลข UN :  1436

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ทำความสะอากบริเวณที่รั่วไหล

        – ระบายอากาศให้ทั่วถึงในบริเวณที่รั่วไหล

 

        การพิจารณาการกำจัด : กำจัดตามกฏหมายที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ควรรีบนำส่งแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังทันทีด้วยสบู่หรือน้ำปริมาณมากๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที ถ้าถ้าเกิดการระคายเคืองให้รีบไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        26

        DOT Guide :            138

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557