Sulfamic acid

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   Ammonium sulfamate

        ชื่อเคมีทั่วไป  –

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Sulfamic acid, ammonium salt; Ammate; Sulfamic Acid, Monoammonium Salt; Ammonium Amidosulfate; Amicide; AMS; Sepimate; Silvacide; Ammate X; Ammate X-NI; Monoammonium sulfamate; Amcide; Ikurin

        สูตรโมเลกุล    N2NIO3NH4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์69

        รหัส IMO     –

        CAS No.    7773-06-0

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  3077

        รหัส RTECS    WO 6125000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-871-7

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Ashland Chemical Co.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ P.O. Box 2219 Columdus, CH 43216

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7773-06-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้เป็นยากำจัดวัชพืชให้ต้นไม้ , พืชสมุนไพร , พืชยืนต้น
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    3900 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           315(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :    2.1(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    2.1(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง  : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ฉุนเล็กน้อย

        นน.โมเลกุล :  114.1

        จุดเดือด(0ซ.) :  160

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  133

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.77

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : 195 ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5.0-6.5 ที่200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm = 4.67

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.21 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  สารนี้มาสารถละลายได้ในแอมโมเนียมเหลว ฟอร์มาไมล์ และกลีเซอรอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป ทำให้เกิดการระคายเคืองทางเดินหายใจ เนื่องจากสารนี้เป็นฝุ่นหรืออาจทำให้เกิดฝุ่น มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง อาจเป็นสาเหตุทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคืองเล็กน้อย ผื่นแดง และผิวหนังไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไปถ้ากลืนกินเข้าไปเล็กน้อย ขณะทำการขนถ่ายอาจจะไม่มีผลทำให้เกิดอันตราย แต่ถ้ากลืนกินเข้าไปปริมาณมาก อาจทำให้เกิดอันตรายระคายเคือง กระเพาะอาหาร หลอดอาหารผิดปกติ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตาเล็กน้อย เกิดอาการปวดแสบปวดร้อน น้ำตาไหล ตาแดง และแผลไหม้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับสารก่อมะเร็ง สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับความร้อนที่สูงเกินกรดแร่แก่

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ทำให้เกิดสารประกอบกำมะถัน (sulfur)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ฉีดน้ำเป็นฝอย

                – สารอันตรายจากการเผาไหม้ จะทำให้สารประกอบกำมะถัน.

                – ห้ามใช้เครื่องเชื่อมหรือหัวตัดแกสทำงานกับถังบรรจุหรือบริเวณใกล้ ๆ (แม้แต่ถังเปล่า) เพราะสารนั้น (แม้แต่สารตกค้าง)

                – สามารถทำให้เกิดการระเบิดขึ้นได้

                – สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว(SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้าและชุดป้องกันสารเคมี

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศที่ดี

                – การเคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุสารเคมีนี้จะเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่าเนื่องจากมีสารตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว ให้สังเกตูข้อควรระมัดระวังและคำเตือนทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลเล็กน้อยเพื่อนำไปกำจัดหรือนำกลับมาใช้ใหม่

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : การกำจัดจากข้อมูลการจัดการของเสียให้เก็บไว้ในบ่อฝังกลบ กฎข้อบังคับของรัฐและรัฐบาลกลาง

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากบริเวณที่สัมผัสสารไปยังบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ทันที รักษาร่างกายผู้ป่วยให้อบอุ่นและสงบนิ่ง ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้ายให้วางศีรษะต่ำกว่าลำตัว ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินสารนี้เข้าไปปริมาณน้อยในระหว่างเคลื่อนย้ายปกติจะไม่เป็นอันตราย การกลืนหรือกินเข้าไปมากๆจะทำให้เกิดอันตรายได้

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาขึ้นลง นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และการจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   S348 (II-5)

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –          

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 2 mixed cellulose ester membrane filter 0.8 um/37 mm.

                – วิธีวิเคราะห์ใช้วิธี ion chromatography

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557