Aluminium sulphate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
          ชื่อเคมี IUPAC   Aluminium sulphate

         ชื่อเคมีทั่วไป     Dialuminum Sulfate

         ชื่อพ้องอื่นๆ      Alum ; Cake alum ; Sulfuric Acid, Aluminum Salt (3:2);

         สูตรโมเลกุล      AI2(SO4)3

         สูตรโครงสร้าง    12273133_10207255992531576_8376322_n

         รหัส IMO   –

         CAS No.        10043-01-3

         รหัส EC NO.    –

         UN/ID No.      –                   

         รหัส RTECS    –

         รหัส EUEINECS/ELINCS         –

         ชื่อวงศ์  –

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ

 

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          10043-01-3          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการย้อมสี ทำโฟม เสื้อผ้าป้องกันไฟ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการผลิตอีเทน ควบคุมค่า pH ในอุตสาหกรรมกระดาษ สารป้องกันน้ำในคอนกรีต ขจัดน้ำมันและไขมัน เป็นสารหล่อลื่น ลดกลิ่น และสีในปิโตรเลี่ยมรีไฟนิ่ง
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) : 1930 (มก./กก.)

         LC50(มก./ม3) :        –

         IDLH(ppm) :    –

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       –

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      2 (ppm)

         TLV-STEL(ppm) :      –

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : เม็ดหรือผงของแข็ง

         สี : ขาว

         กลิ่น : ไม่ระบุไว้

         นน.โมเลกุล :   342.14

         จุดเดือด(0ซ.) :  –

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 86

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.7

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

         ความหนืด(mPa.sec) :   –

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  28 ที่  – 0ซ.

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  3.1 ที่  – 0ซ.

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  13.99

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.07 ppm ที่ 25 0ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การสัมผัสกับฝุ่นของกรดซัลฟูริกซึ่งสัมผัสกับความชื้นในอากาศหรือในเนื้อเยื่อ ทำให้เกิดอาการอักเสบของลำคอ ไอ ระคายเคืองต่อจมูกและลำคอ การสัมผัสสารที่เข้มข้นสูงๆอาจจะทำให้การหดตัวของทางเดินหายใจได้

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง เมื่อสัมผัสถูกฝุ่นและสารระลายเข้มข้นจะทำให้เกิดการระคายเคือง และทำให้นิ้วชา

         กินหรือกลืนเข้าไป ถ้ากลืนกินสารนี้เข้าไปจะทำให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้ และอาเจียร สารละลายที่มีความเข้มข้นมากกว่า 20 % จะทำให้ปากไหม้ เลือดออกในท้อง กล้ามเนื้อทำงานไม่ประสานกัน กล้ามเนื้อหดเกร็ง และทำให้เกิดอันตรายต่อไต

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ของสารจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองและการอักเสบของตา

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  ผลเรื้อรัง ถ้าสัมผัสกับสารเป็นเวลานานๆ จะทำให้เกิดการระคายเคืองและนิ้วชา การรับสารเข้าทางการกินซ้ำกันอาจทำให้เกิดภาวะขาดฟอสเฟส มีผลทำให้กระดูกผุ เปราะ การนี้เมื่อถูกย่อยจะดูดซึมได้ยาก สารนี้สามารถทำปฏิกิริยากับฟอสเฟสเกิดสารประกอบที่ไม่ละลายผ่านออกไปยังร่างกายได้อย่างรวดเร็วทำให้ร่างกายขาดฟอตเฟต

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่ระบุไว้

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ที่อุณหภูมิสูงกว่า 650 องศาเซลเซียส สารนี้จะสลายตัวให้สารอลูมิเนียมออกไซด์และ ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
          จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

         ค่า LEL % :    

         UEL % :                

         NFPA Code :   

          สารดับเพลิง : ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพของเพลิงโดยรอบ

        – สารดับเพลิง ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว ( SCBA ) รวมทั้งชุดป้องกันสารเคมีชนิดปิดคลุมทั้งตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

                – เก็บในบริเวณที่แห้งและเย็น

         สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากโครงสร้างที่ทำจากเหล็ก

                – หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับฝุ่น

         ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Aluminium Sulphate

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ดูดสารที่หกรั่วไหล หรือเก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลอย่างระมัดระวังใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสำหรับนำกลับมาใช้ใหม่หรือการกำจัด

        – สวมใส่ชุดป้องกันที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับฝุ่น

         การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

         กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนกินเข้าไป และถ้าผู้ป่วยหมดสติหรือเกิดอาการชัก ห้ามผู้ป่วยกินอะไร ล้างปากผู้ป่วยด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ถ้าหยุดหายใจให้ผายปอด ถ้าหัวใจหยุดเต้นให้ใช้เครื่องช่วยหายใจ ( CPR ) ทันที นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกผิวหนัง : สัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

         สัมผัสถูกตา : สัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
          ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. : 

         OSHA NO. :   

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

         วิธีการวิเคราะห์ :        

         ข้อมูลอื่น ๆ :      

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :         

         DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557