Benzoic acid

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Benzoic acid

        ชื่อเคมีทั่วไป     Carboxybenzene ; Benzoic acid

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Benzenecarboxylic Acid; Carboxybenzene; Diacylic acid; Benzeneformic acid; Benzenemethonic acid; Phenyl carboxylic acid; Phenylformic acid; Retarded ba; Retardex; Tennplas; Oracylic acid

        สูตรโมเลกุล      C7H6O2

        สูตรโครงสร้าง   12309328_10207266886963930_1458371393_n

        รหัส IMO      –

        CAS No.        65-85-0                  

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      3077             

        รหัส RTECS     DG 0875000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-618-2

        ชื่อวงศ์  Orgsuic Acids

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า JT Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 65-85-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 2350 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       >26/ 1 (มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผลึก

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ฉุน

        นน.โมเลกุล :   122.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  249

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 122

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.32

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.2

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  <1ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.1-1 ที่  210ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  2.5-.35ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.99

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.20 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : ละลายในคลอโรฟอร์ม

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และเผาไหม้เยื่อบุเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชีรายชื่อของ IARC , NTP , Z , OSHA สารนี้มีผลทำลายปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ทางเดินอาหาร

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : เบสเข้มข้น, สารออกซิไดซ์อย่างแรง, โลหะอัลคาไลน์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟต่างๆ, ความชื้น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์, คาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          120

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     570

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   

         สารดับเพลิง : ให้ใช้โฟมแอลกอฮอล์, ผงเคมีแห้ง หรือคาร์บอนไดออกไซด์ (น้ำจะใช้ไม่ได้)

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ ผู้ดับเพลิงควรสวมอุปกรณ์ป้องกัน และหน้ากากป้องกันการหายใจที่มีที่กำบังหน้า

        – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ คาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บในบริเวณที่เหมาะสมสำหรับเก็บสารเคมี

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีปฏิบัติกรณีเกิดการรั่วไหล ทำความสะอาดและเก็บกวาดสารหกรั่วไหลอย่างระมัดระวัง

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – การดูดหรือกวาดขณะชื้นสามารถใช้ได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        – ระบายอากาศบริวเณที่สารหกรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป หากผู้ป่วยหายใจเข้าไปปริมาณมาก ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลินหรือกินเข้าไป หากผู้ป่วยยังมีสติให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆทันที นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – สารนี้สามารถเกิดการย่อยสลายได้ง่ายในน้ำ

                – สารนี้มีแนวโน้มในการสะสมทางชีวภาพต่ำ

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          49

        DOT Guide :              171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557