Calcium chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Calcium chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป     Calcium chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Calcium dickloride ; Calcium chloride anhydrous ; Caltac ? ; Dowflake ; Calcosan

        สูตรโมเลกุล      CaCl2

        สูตรโครงสร้าง   12305477_10207266904964380_226036117_n

        หัส IMO   –

        CAS No.        10043-52-4         

        รหัส EC NO.         017-013-00-2

        UN/ID No.      1453                 

        รหัส RTECS FV 9800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         233-140-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Mallinckrodt Baker , Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 10043-52-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้นำไปใช้ในห้องปฏิบัติการ(Laboratory reagent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1000 (มก./กก.) (หนู)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       –

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : เม็ด,ของแข็ง

        สี : สีขาว หรือเทา-ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   110.98

        จุดเดือด(0ซ.) :  > 1600

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 772

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.15

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้,74.5ที่   –0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  8 – 9ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.54

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.22 ppm ที่    250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปสารนี้ลักษณะเป็นเม็ด จะไม่เป็นอันตรายเมื่อหายใจเข้าไป แต่ถ้าหายใจเอาผุ่นเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจทำให้มีอาการไอ และหายใจถี่

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง การสัมผัสกับสารที่เป็นของแข็งต่อผิวหนังที่แห้งจะทำให้เกิดการระคายเคืองเล็กน้อย แต่ถ้าหากสัมผัสกับสารละลายเข้มข้น หรือของแข็งสัมผัสกับผิวหนังที่ชื้นจะทำให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง และอาจเกิดผิวหนังไหม้ได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้เป็นสารที่มีความเป็นพิษต่ำ แต่การกิจหรือกลืนเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อเมือกในจมูกอย่างรุนแรง เนื่องจากความร้อนจากปฏิกิริยา ไฮโดรไลซีส ถ้ารับในปริมาณมากจะทำให้กระเพาะและลำไส้อักเสบ อาเจียน ปวดท้อง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ความร้อนจากปฏิกิริยา ไฮโดรไลซิล จะทำให้เกิดการระคายเคืองตาจากส่วนประกอบซึ่งเป็นคลอไรด์ในสาร ทำให้ตาแดง และปวดตาได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่ระบุไว้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร ภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ ถ้าเปิดภาชนะทิ้งไว้สารจะรับความชื้นจากอากาศ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : เมทริลไวนิลอีเธอร์ น้ำ สังกะสี โปรไมน์ไตรฟลูออไรด์ คนละตัวกับโบรไนด์ไตรฟลูออไรด์ แบเรียมคลอไรด์และกรดฟูรานเบอร์คาร์บอกซีลิก โลหะจะถูกกัดกร่อนอย่างช้าๆ ในสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ แคลเซียมคลอไรด์จะทำให้ อะลูมิเนียม (และอัลลอยด์) และทองเหลืองเกิดความเสียหาย

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : สารที่กันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อสารได้รับความร้อนสารจะสลายตัวปล่อยฟูมก๊าซพิษของคลอรีนแลอาจรวมตัวกับกรดซัลฟูริกและกรดฟอสฟอริก หรือน้ำ ที่อุณหภูมิสูงเกิดเป็นไฮโดรคลอไรด์ได้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   12283160_10207269259943253_652811124_n

         สารดับเพลิง : ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

        – สารนี้เป็นสารไวไฟ

        – ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

        – การเกิดเพลิงไหม้จะเกิดขึ้นภายใต้สภาวะที่มีอุณหภูมิสูง หรือเมื่อมีความชื้นจะทำให้เกิดฟูม / ก๊าซพิษของแคลเซียมคลอไรด์ขึ้น ซึ่งทำให้เกิดการระคายเคืองได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ แคลเซียมคลอไรด์ที่ชื้นหรือสารละลายที่เข้มข้นสามารถกัดกร่อนเหล็กได้

                – แคลเซียมคลอไรด์จะถูกซับน้ำจากบรรยากาศและเปลี่ยนรูปเป็นสารละลายได้

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้ที่เป็นถังเปล่า แต่มีการสารเคมีตกค้าง เช่น ฝุ่น ของแข็งอาจทำให้เกิดอันตรายได้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีรั่วไหล ให้อพยพคนออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้เก็บกวาดส่วนที่หกรั่วไหลและบรรจุใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อเก็บคืนหรือนำไปกำจัด

        – ให้ใช้วิธีการดูดหรือกวาดขณะชื้นเพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        – สารที่เหลือตกค้างเล็กน้อยให้ฉีดล้างลงสู่ท่อระบายน้ำด้วยน้ำปริมาณมากๆ

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12309291_10207269044297862_182124300_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

        ในบริเวณที่มีฝุ่น ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นแบบครึ่งหน้า สำหรับในกรณีที่ฉุกเฉินให้ใช้แบบเต็มหน้าที่มีความดันภายในเป็นบวกรวมกับอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดอัดอากาศเข้าภายใน

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด และถ้ามีอาการหายใจติดขัดให้ทำการให้ออกซิเจนช่วยนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้นำไปพบแพทย์ให้กระตุ้นทำให้อาเจียนทันทีโดยบุคลากรทางการแทพย์ ห้ามให้นำสิ่งใดข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆ อย่างน้อง 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้า และรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออกทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าอย่างทั่วถึงก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมทั้งกระพริบตาถี่ๆขณะล้างด้วยน้ำแลนำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ : แจ้งต่อแพทย์ การรับสารทางการกลืนหรือกินเข้าไปทางปากอาจเป็นสาเหตุของภาวะที่โลหิตมีปริมาณไบคาร์โบเนทมากกว่าปกติ

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – จากข้อมูลนี้สามารถหาได้ของ แคลเซียม คลอไรด์ แอนไฮดริส พบว่า สารนี้จะไม่เกิดการสลายตัวโดยกระบวนการทางชีวภาพ หรือไม่มีการรวมตัวกันทางชีวภาพ

                – สารนี้มีค่า LC 50 สำหรับปลาในช่วงการสัมผัส 96 ช.ม. มากกว่า 100 mh/l

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          29

        DOT Guide :               140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557