Zinc sulfate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Zinc sulfate

        ชื่อเคมีทั่วไป     Zinc Vitiol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Zinkosite; Bufopto Zinc Sulfate; Op-Thal-Zin; White; Vitriol; Sulfuric acid, Zinc salt (1:1); Sulfuric acid, zinc salt;

        สูตรโมเลกุล      ZnSO4

        สูตรโครงสร้าง   12305727_10207268300639271_231076561_n

        รหัส IMO

        CAS No.        7733-02-0

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      –                   

        รหัส RTECS    ZH 5260000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         –

        ชื่อวงศ์                  

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        Material Safety Data Sheet

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ        –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7733-02-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ , ผลิตภัณฑ์ควบคุมอาหาร , อาหารสัตว์ , สีย้อม , สารถนอมอาหาร และสารเคมีที่ใช้ในการวิเคราะห์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    1891 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          –    

        PEL-STEL(ppm) :        –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        –

        TLV-STEL(ppm) :         –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : ไม่มีสีถึงเขียวอ่อน

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   287.5

        จุดเดือด(0ซ.) :

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 500

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : 166

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   11.75

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.085 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก ลำคอ และทางเดินหายใจ ทำให้เกิดอาการไอ แน่นหน้าอก เจ็บคอ หายใจติดขัด และหายใจถี่รัว อาจทำให้เกิดปอดบวมและเสียชีวิตได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคือง เกิดผื่นแดง และปวดได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดอาการท้องร่วง ปวดท้องและอาเจียนได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตาในระดับปานกลาง ทำให้ตาแดง ปวดตา และทำให้การมองเห็นไม่ชัดเจนได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งอาการปอดบวม อาจจะไม่แสดงอาการในทันที อาจเกิดอาการขึ้นภายหลังรับสารเป็นระยะเวลา 2-3 ชั่วโมง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้จะเสถียรภายใต้การใช้งานปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด และเบสเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ซิงค์ออกไซด์ ออกไซด์ของซัลเฟอร์และน้ำ

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    

         สารดับเพลิง : ให้เลือกใช้วิธีที่เหมาะสมสำหรับสภาพของเพลิงโดยรอบ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีชนิดปิดคลุมเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากความร้อนสูง การสัมผัสกับเปลวไฟ การสัมผัสกับน้ำและกรด

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีชนิดปิดคลุมเต็มตัว และอุปกรณ์ช่วยหายใจ

        – ให้ทำการเก็บและทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหล และใช้น้ำฉีดล้างทำความสะอาดบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารรั่วไหลลงสู่ท่อระบายน้ำหรือแหล่งน้ำ

        – การกำจัด สารนี้อาจถูกกำจัดโดยการเผาหรือฝังกลบตามความเหมาะสม

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วยให้นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป หากเกิดอาการรุนแรงให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่ ปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าที่เปรอะเปื้อนออก นำส่งไปพบแพทย์ ทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที โดยเปิดเปลือกตาให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :   

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม
มาตรา14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. : 

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557