Amyl alcohol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Pentanols

        ชื่อเคมีทั่วไป     Amyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      N-Pentanol; Pentyl alcohol; 1-Pentanol; N-pentyl alcohol; 1-Pentol; Pentan-1-ol; N-butylcarbinol; Pentanol-1; Pentasol; Primary amyl alcohol; N-amyl alcohol; Amyl alcohol, normal; N-pentan-1-ol; Amyl Alcohol (1-Pentanol);

        สูตรโมเลกุล      C5H12O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์118

        รหัส IMO      12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        71-41-0

        รหัส EC NO.    603-006-00-7

        UN/ID No.      1105             

        รหัส RTECS     SB 9800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-752-1

        ชื่อวงศ์  Alcohol

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T. Baker INC

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 71-41-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารในห้องปฏิบัติการ (Laboratory Reagent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 2200 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      –

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น :

        นน.โมเลกุล :   88.15

        จุดเดือด(0ซ.) :  133

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -74

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.81

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.0

        ความหนืด(mPa.sec) :    3.68

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  2ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  1.7 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  0.277

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.277 ppm ที่ -250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ, ปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, มึนงง, ไอ, หายใจติดขัด, อ่อนเพลีย, หมดสติ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ถ้าสัมผัสไปนานๆทำให้ผิวหนังเป็นแผลไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป ทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ท้องร่วง ระคายเคืองกระเพาะอาหารและลำไส้ มีอาการโคม่า

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดอาการระคายเคือง ถ้าสัมผัสไปนานๆทำให้แสบไหม้ ทำลายตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชีรายชื่อของ Z LIST ,IARC , NTP , OSHA REG

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง, กรดไนตริก, กรดซัลฟูริก โลหะอัลคาไล โลหะอัคลาไลน์เอิรธ์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟอื่นๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            44

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    299

        ค่า LEL % :     1.2

        UEL % :        10     

        NFPA Code :   12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : โฟมแอลกอฮอล์, ผงเคมีแห้ง, คาร์บอนไดออกไซด์

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ และสารออกซิไดซ์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Amyl alcohols

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 1105

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล : เคลื่อนย้าย/ปิดแหล่งจุดติดไฟทั้งหมด

        – หยุดการรั่วไหลถ้าสามารถทำได้อย่างปลอดภัย

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดการฟุ้งกระจายของไอระเหย

        – ใช้วัสดุดูดซับ เช่น ทราย ดูดซับสารที่หกรั่วไหลสำหรับนำไปกำจัด สารที่ดูดซับแล้วเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป นำส่งไปพบแพทย์ ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ ทำให้อาเจียน

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนออก ทำความสะอาดก่อนนำมาใช้

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          16

        DOT Guide :                 –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557