Bromobenzene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Monobromobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Bromobenzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Phenyl bromide

        สูตรโมเลกุล      C4H9Br

        สูตรโครงสร้าง        สไลด์124

        รหัส IMO          12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        108-86-1

        รหัส EC NO.    602-060-00-9

        UN/ID No.      2514              

        รหัส RTECS    CY 900000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-623-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T.Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 108-86-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้สารวิเคราะห์และทดสอบทางเคมี (reagent, ในห้องปฏิบัติการเคมี)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 2699 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      20411/- ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :  –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัวของอะโรมาติก

        นน.โมเลกุล :   157.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  156

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -31

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.50

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    5.41

        ความหนืด(mPa.sec) :   1.124

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  10ที่ 400ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   6.42

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.16 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ, ทำให้เกิดอาการไอ, หายใจถี่รัว, มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลางทำให้เวียนศรีษะ, สูญเสียการควบคุม, หมดสติ, สารนี้อาจจะดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือดทำให้เกิดอาการคล้ายกับการกินหรือการกลืนเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง, ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง มีอาการผื่นแดง, อาการคัน, และเจ็บปวด, สารนี้อาจจะถูกซึมผ่านผิวหนังได้ทำให้เกิดอันตรายต่อระบบในร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดศรีษะ เสียงแหบ ระบบประสาทส่วนกลางถูกกด

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง, ผื่นแดง, และเจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้มีผลทำลายระบบประสาทส่วนกลาง ปอด ทรวงอก ระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้ การเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ออกซิไดซ์ของคาร์บอนเหมือนกับไอออกนิค หรือการออกซิไดซ์ ฮาโลเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :             51

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     566

        ค่า LEL % :     0.5

        UEL % :         2.5    

        NFPA Code :   12309167_10207280591466534_937291503_n

         สารดับเพลิง : ให้ฉีดน้ำเป็นฝอย, สารเคมีแห้ง, แอลกอฮอล์โฟม, หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อปิดคลุมไฟและฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้ และฉีดสกัดส่วนที่หกรั่วไหลหรือไอระเหยที่ยังไม่ติดไฟ ให้ออกห่างจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้

                – ในขณะเกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังออกซิเจนในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

                – ส่วนผสมระหว่างไอระเหยกับอากาศอาจทำให้ระเบิดได้ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                – ไอระเหยสามารถไหลไปบนพื้นสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – สัมผัสกับสารออกซิไดซ์อย่างแรง จะทำให้เกิดเพลิงไหม้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกแน่นอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

                – ว่องไวต่อประจุไฟฟ้าสถิต

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

                – ให้เก็บออกห่างจากพื้นที่ที่อาจจะเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลันได้ แยกเก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บไว้ภายนอกอาคารหรือการแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อเชื่อมและต่อลงดินเมื่อมีการถ่ายเทเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟฟ้าสถิตย์

                – ห้ามสูบบุหรี่ในพื้นที่ที่เก็บและใช้งาน ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ, รวมไปถึงการการระบายอากาศที่มีการป้องกันการระเบิด

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้จะเป็นอันตรายเมื่อถังเปล่าเนื่องจากกากสารเคมีตกค้าง เช่น ไอระเหย ของเหลว

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Bromobenzene

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 2514

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้ระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล

        – กั้นแยกพื้นที่อันตรายออก ห้ามไม่ให้บุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเข้าไป

        – เก็บรวบรวมของเหลวใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือวัตถุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (varmiculite) ทรายแห้ง (earth) และเก็บ.ใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียสารเคมี, อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่ถ้าเป็นไปได้

        – อย่าฉีดล้างลงไปท่อระบายน้ำ

        – ถ้าสารที่หกรั่วไหลยังไม่ลุกติดไฟ ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อสลายกลุ่มไอระเหยเพื่อป้องกันอันตรายบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกห่างจากการสัมผัส

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์, ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด, ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย, นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง, ให้ฉีดล้างทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก, นำส่งไปพบแพทย์, ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสียหรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          17

        DOT Guide :               129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557