Ethyl Acetate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   –

        ชื่อเคมีทั่วไป     Ethyl acetate

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Ethyl acetic ester; Acetoxyethane; Acetic ether; Vinegar naphtha; Acetidin; Acetic ester

        สูตรโมเลกุล      C4H8O2

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์135

        รหัส IMO    12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        141-78-6

        รหัส EC NO.    607-022-00-5

        UN/ID No.      1173            

        รหัส RTECS     AH 5425000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         205-500-4

        ชื่อวงศ์                    

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 141-78-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ทำเครื่องสำอางค์ , ใช้ในการกลั่นแยก, ใช้เป็นสารละลาย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  5620 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) : 200/ – ชั่วโมง(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     400(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        2000(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      400(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      1400(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส

        กลิ่น : หอม

        นน.โมเลกุล :   88.11

        จุดเดือด(0ซ.) :  77.2

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -83

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.9018

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.0

        ความหนืด(mPa.sec) :      0.44

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  75

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  7.9 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    7.4 ที่

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    3.60

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.28 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : สารนี้ละลายในแอลกอฮอล์ อีเทอร์ กลีเซอรีน ตัวทำละลายอินทรีย์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  จะเป็นอันตรายถ้าหายใจเข้าไป ไอระเหยที่ความเข้มข้นสูง ๆ จะทำให้ปวดศีรษะ มึนงง หมดสติ

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสทางผิวหนังทำให้เกิดการอักเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัส และเกิดการทำลายชั้นไขมันของผิวหนังอย่างรุนแรง

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนกินเข้าไปจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ง่วงนอน หมดสติ

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  ไม่เป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง ตามรายละเอียด IARC ,NTP, OSHA และสารนี้มีผลทำลายดวงตา ผิวหนัง และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด สารออกซิไดซ์ สารอัลคาไลท์ที่มีปฏิกิริยารุนแรง ไนเตรท

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ควรหลีกเลี่ยงความร้อน สัมผัสกับแหล่งจุดติดไฟ จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับโพแทสเซียม เตริกบิวทอกไซด์ ปฏิกิริยารุนแรงกับ กรดคลอโรซัลโฟนิค

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          -4.44

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    460

        ค่า LEL % :     2.20

        UEL % :        11.00  

        NFPA Code :    

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิงที่เหมาะสมเมื่อเกิดอัคคีภัย คือ แอลกอฮอล์ โฟม คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเมื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้

                – ขั้นตอนการปฏิบัติการดับเพลิง ควรสวมใส่เครื่องช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัวและชุดป้องกันสารเคมี

                – ไอระหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้ผสมกับอากาสส ประกายไฟอาจจะเกิดขึ้นได้ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ประกายไฟทั่ว ๆไปที่เกิดขึ้นเอง หรืออุณหภูมิของประกายไฟ อุณหภูมิประกายไฟจะลดลงเมื่อปริมาณไอระเหยเพิ่มขึ้นและเวลาที่ไอระเหยสัมผัสกับอากาศและความดันที่เปลี่ยนแปลง

                – ประกายไฟอาจจะเกิดที่อุณหภูมิสูงเฉพาะกับห้องปฏิบัติงานภายใต้สูญญากาศ ถ้าอากาศเข้าไปอย่างทันทีทันใดหรือการปฏิบัติงานภายใต้ความดันสูงถ้าไอระเหยออกมาทันใด หรือการเกิดขึ้นที่บริเวณแอทโมสเฟีย

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บไว้ในภาชนะที่ปิดสนิท

                – เก็บไว้ในที่มีอุณหภูมิเย็น แห้ง

                – เก็บไว้ในที่มีการระบายอากาศ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งที่เกิดประกายไฟ และสารออกซิไดซ์

                – สารที่เหลืออยู่ในภาชนะอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้ ควรใช้อย่างระมัดระวัง

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Ethyl Acetate

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : 1173

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล การตอบโต้กรณีหกรั่วไหล

        – อพยพคนที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดออกจากพื้นที่

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันให้เหมาะสมที่ระบุไว้ในบัญชีรายชื่อใต้เปิด / การป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

        – ขจัดแหล่งการจุดติดไฟใดๆออกไฟจนกระทั่งพื้นที่ดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดหรืออันตรายไฟ

        – บรรจุส่วนที่หกรั่วไหลและแยกออกจากแหล่งสารเคมีนั้น

        – ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บและบรรจุสารสำหรับการนำไปกำจัดให้เหมาะสม

        – ปฏิบัติตามกฏ กฎหมาย และกฏระเบียบของทางราชการในการรายงานการรั่วไหลของสารเคมี

        – ต้องปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับของทางราชการอย่างเคร่งครัด

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

               แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile, Polyvinyl Chloride

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งมีCartridge พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ให้ผู้ป่วยพักผ่อน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำประมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         เมื่อรั่วไหลลงสู่น้ำ : สารนี้มีความเป็นพิษต่อปลาและแพลงค์ตอน อาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ำ ให้ไอของสารที่ระเบิดได้

                – สารนี้สามารถเกิดการสลายตัวทางชีวภาพได้ดี

                – สารนี้จะไม่ส่งผลต่อระบบบำบัดน้ำทิ้ง หากมีการใช้และจัดการสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1457

        OSHA NO. :   7

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg/ 50 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01-0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 0.1 ลิตร, สูงสุด 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  18

        DOT Guide :   129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557