Glycerol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   1,2,3-Propanetriol ; 1,2,3-Trihydroxypropane

        ชื่อเคมีทั่วไป     Glycerol ; Glycerin

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Glycerol; D-glycerol; L-glycerol ; Glyceritol; Glycyl alcohol; Trihydroxypropane; Glycerin mist; Polyhydric alcohols; Propanetriol

        สูตรโมเลกุล      C3H5(OH)

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์137

        รหัส IMO       –

        CAS No.        56-81-5

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      –                  

        รหัส RTECS     MA 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-289-5

        ชื่อวงศ์                    

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 56-81-5         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ :         ใช้เป็นตัวถ่ายเทความร้อน, ใช้วัดจุดเดือด
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :   12600 (หนู)((มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              >570/ 1 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       3.99(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      1.33(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใสคล้ายน้ำมัน

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   92.09

        จุดเดือด(0ซ.) : 290

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 18

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.26

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.1

        ความหนืด(mPa.sec) :      1400

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    0.0025

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    5ที่200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     3.77

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         2.27 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : สารนี้ละลายในเอทานอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป เนื่องจากไอระเหยมีความดันต่ำการสูดดมไอระเหยที่อุณหภูมิห้องจะไม่เกิดขึ้น การสูดดมละออง/ไอของสารนี้เข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินเข้าไป มีความเป็นพิษต่ำ อาจจะทำให้คลื่นไส้ ปวดศีรษะ ท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  สัมผัสเรื้อรัง อาจทำให้เกิดการทำลายไต ทางเดินอาหาร และอวัยวะสืบพันธุ์เพศชายได้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้เสถียรที่สภาวะปกติของการใช้งาน และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์เข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ถ้าเกิดเพลิงสารนี้จะสลายตัวให้แก๊สและไอระเหยที่เป็นพิษ

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          199

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    370

        ค่า LEL % :     0.9

        UEL % :       

        NFPA Code :    110

         สารดับเพลิง : ใช้วิธีที่เหมาะสมสำหรับการดับเพลิงโดยรอบ

                – ฉีดน้ำให้เป็นฝอยสามารถดับเพลิงบริเวณโดยรอบและใช้ในการหล่อเย็นภาชนะที่ถูกเพลิงเผาไหม้

                – ฉีดน้ำให้เป็นฝอยจะช่วยลดไอและก๊าซที่ทำให้เกิดการระคายเคือง

                – ข้อมูลพิเศษในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บโดยมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บห่างจาก สารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ระบายอากาศพื้นที่ที่สารหกรั่วไหล

        – ให้สวมอุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่เมื่อเป็นไปได้

        – เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับด้วยวัสดุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (Vermiculite) ทรายแห้ง ดิน (Earth) และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียทางเคมี

        – อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ

        – ไม่ว่าสารอะไรก็ตามไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างปลอดภัย ควรนำไปกำจัด เช่นเดียวกับของเสีย

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกมาสู่บริเวณที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วยให้นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนกินเข้าไป กระตุ้นให้อาเจียน ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ และนำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่ ปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

        – สารนี้สามารถถูกย่อยสลายทางชีวภาพได้ง่าย

        – เมื่อรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำสารนี้จะก่อให้เกิดผลกระทบเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำในระดับต่ำ

        – จะไม่ก่อให้เกิดผลต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  0500,0600

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :          ชั่งน้ำหนัก

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 5 um PVC filter

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1-2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 7 ลิตร, สูงสุด 133 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  –

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557