Styrene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Phenylethene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Styrene; Vinyl benzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Phenylethylene ; Styrol ; Cinnamene; Ethenylbenzene; Annamene; Styrolene; Cinnamene; Cinnamol; Cinnamenol; Diarex hf 77; Phenethylene; Phenylethene; Styron; Styropol; Styropor; Vinylbenzol; Styrene monomer

        สูตรโมเลกุล      C8H8

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์143

        รหัส IMO        12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        100-42-5

        รหัส EC NO.    601-026-00-0

        UN/ID No.      2055         

        รหัส RTECS        WL 3675000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         202-851-5

        ชื่อวงศ์                   Aromatic Hydrocarbons

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        J.T. BAKER

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ        –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 100-42-5         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้นำไปใช้ในห้องปฏิบัติการ ( LABORATORY REAGENT )
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    5000  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     700(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         100(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       200(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :        50(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     100

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :  –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   104.15

        จุดเดือด(0ซ.) : 145

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -31

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.91

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.6

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    5 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 0.1%

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   4.26

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.23 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองระบบหายใจ , อาจจะทำเกิดอาการโรคน้ำท่วมปอด , ง่วงนอน ไอ ปวดศีรษะ วิงเวียศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน และเซี่องซึม

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เป็นแผลไหม้ ทำให้เกิดผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และเป็นแผลไหม้ที่ปากและกระเพาะอาหาร ทำให้เกิดอาการเจ็บคอ ปวดท้อง ปวดศีรษะ วิงเวียน อาเจียน และเซื่องซึม

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา และเกิดแผลไหม้ ตาแดง และปวดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อวัยวะเป้าหมาย : ระบบประสาทส่วนกลาง , ระบบหายใจ , ตา , ผิวหนัง

        ผลการสัมผัสเรื้อรัง จะกดระบบประสาทส่วนกลาง   สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชี รายชื่อของ NTP , IARC , 2LIST, OSHA

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ที่รุนแรง, ทองแดง, กรดเข้มข้น, เกลือของโลหะ, ตัวเร่งปฏิกิริยา

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: แสง , ความร้อน , เปลวไฟ , แหล่งจุดติดไฟอื่น ๆ , อากาศ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนมอนนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            31

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    489

        ค่า LEL % :     1.1

        UEL % :        8.9

        NFPA Code :    232

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ โฟม , แอลกอฮอล์ , ผงเคมีแห้ง หรือ คาร์บอนไดออกไซด์ , น้ำใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ ถ้าสัมผัสกับสารออกซิไดซ์ที่รุนแรงอาจจะเกิดไฟไหม้ได้

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดไฟไหม้ ถ้าสามารถทำได้อย่างปลอดภัย

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – ก๊าซพิษที่เกิดในขณะที่ไฟไหม้ : คาร์บอนมอนนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง (อุณหภูมิต่ำกว่า +15 องศาเซลเซียส)

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บในบริเวณที่เก็บของเหลวไวไฟ และ เก็บในภาชนะที่ต้านทานแสง

                –  ต่อสายเชื่อม ( BOND ) และสายดินที่ภาชนะบรรจุในขณะที่ทำการขนถ่ายสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : STYRENE MONOMER , INHIBITED

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 2055

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลปิด / เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟ , ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย หรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไม่สามารถลุกติดไฟได้ และเก็บใส่ภาชนะบรรจุที่เหมาะสม เพื่อนำกำจัด

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อลดการเกิดไอระเหย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

               แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ,Supported Polyvinyl Alcohol แต่ควรหลีกเลี่ยงNitrile, Unsupported Neoprene ,Neoprene, Polyvinyl Chloride , Natural Rubber,Neoprene/Natural Rubber Blend

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) พร้อม Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปจากบริเวณเปลวไฟของสาร เคลื่อนย้ายสารและผู้ป่วยไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์ รีบนำไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำปริมาณมาก และกระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียน และนำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ :   

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 1501, 3800

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 5 ไมโครลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 14

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557