ข้อหารือกฎหมาย

f การแจ้งการประสบอันตราย กรณีลูกจ้างของบริษัทผู้รับเหมาแรงงานที่ทำสัญญากับหน่วยงานรัฐวิสาหกิจประสบอันตรายตามมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัยฯ พ.ศ. ๒๕๕๔

f มาตรฐานความเข้มของแสงสว่างในการปฏิบัติงานในลานขนถ่ายรถยนต์ต้องใช้ค่ามาตรฐานเท่าใดเพื่อให้ค่าความเข้มของแสงสว่างเป็นไปตามที่กฎหมายฯ กำหนด

f เป็นที่ปรึกษาทางวิศวกรรมต้องจัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย หรือไม่

f การจัดฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ.๒๕๔๗

f บริษัทฯ จำหน่ายและให้บริการซ่อมสินค้าหลังการขาย ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานหรือไม่

f การจัดทำเอกสารรับรองความปลอดภัยการใช้หม้อน้ำ

f บริษัทฯ มี ๓ โรงงานแต่งตั้ง คปอ, จป. อย่างไรดี

f การฝึกดับเพลิงขั้นต้น ๔๐% ในแต่ละหน่วยงานของสถานประกอบกิจการหมายถึงอะไร

f เป็นตัวแทนจำหน่าย ไม่มีแผนกซ่อมบำรุงและบริการหลังการขาย เข้าข่ายกฎกระทรวง จป. หรือไม่

f เป็นบริษัทฯ รับเหมาแรงงานทั่วไป เข้าข่ายกฎกระทรวง จป. หรือไม่

f รถกระเช้าแบบ Aerial Work Platforms ต้องทดสอบตามกฎกระทรวงปั้นจั่นหรือไม่

f จะก่อสร้างอาคารผลิตใหม่ซึ่งอยู่ห่างจากอาคารเดิม ๓๕ เมตร ต้องติดตั้งตู้ดับเพลิงพร้อมข้อต่อส่งน้ำใหม่ทั้งหมดหรือไม่

f เป็นสำนักงาน บริหารจัดการงานของบริษัทในเครือ ไม่มีโรงงานผลิต เป็นประเภทกิจการใน ข้อ ๑ (๑๓) ของกฎกระทรวง จป. หรือไม่

f จป. ที่มีคุณสมบัติฝึกอบรมลูกจ้างเกี่ยวกับการทำงานในที่อับอากาศ ฝึกอบรมให้พนักงานตัวเองได้หรือไม่ และต้องขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยฝึกก่อนหรือไม่

f มีลูกจ้างจำนวนมาก ต้องฝึกอบรมลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ เปลี่ยนงาน เปลี่ยนสถานที่ทำงาน หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ ตามประกาศกรมฯ อย่างไรดี

f บริษัทฯ มี ๔ โรงงาน จะแต่งตั้งหน่วยงานความปลอดภัย คปอ. จป. อย่างไร

f เป็นบริษัทฯ รับเหมาแรงงานทั่วไปจะเรียกหลักประกันค่าอุปกรณ์จากลูกจ้างได้หรือไม่

f เป็นบริษัทฯ จัดซื้อจัดหายานยนต์ และอุปกรณ์ เข้าข่ายกฎกระทรวง จป. หรือไม่

f การนับสถิติการประสบอันตรายของหน่วยงาน ต้องนับการประสบอันตรายของผู้มาใช้สถานที่ด้วยหรือไม่

f พนักงานขับรถไปประสบอุบัติเหตุนอกหน่วยงาน ต้องนับเป็นสถิติการประสบอันตรายของหน่วยงานหรือไม่

f วิศวกรผู้ทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่นตามกฎกระทรวงฯ ปั้นจั่น ต้องขึ้นทะเบียนกับกรมฯ หรือไม่

f การขึ้นทะเบียนผู้รับรองรายงานการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงาน ต้องขึ้นทะเบียนตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง หรือตามมาตรา ๑๑ แห่ง พ.ร.บ. ความปลอดภัย

f บ่อน้ำมันของบริษัท เป็นที่อับอากาศตามนิยามของกฎกระทรวงฯ หรือไม่

f สภาพการใช้บังคับกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานในปัจจุบัน

f จป. มีคุณสมบัติฝึกอบรมลูกจ้างตามประกาศกรมฯ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการฝึกอบรมผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้าง ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานหรือไม่

f บริษัท ฯ เข้าข่ายที่จะต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ และคณะกรรมการความปลอดภัยฯ หรือไม่

f เครื่อง X-Ray fluorescence เข้าข่ายกฎกระทรวงฯ รังสีชนิดก่อไอออน หรือไม่

f บริษัทฯ ประกอบกิจการให้เช่าอุปกรณ์ก่อสร้าง เข้าข่ายกฎกระทรวง จป. หรือไม่

f ผู้รับเหมางาน รับเหมาแรงงาน เป็น “ลูกจ้าง” ตาม พ.ร.บ. ความปลอดภัยฯ หรือไม่

f ใครต้องเป็นผู้แจ้งการประสบอันตรายตามมาตรา ๓๔ (๓) แห่ง พ.ร.บ. ความปลอดภัย

f มีลูกจ้าง ๒๑๓ คน จะตั้งหน่วยงานความปลอดภัยฯ อย่างไรดี

f การทดสอบอุปกรณ์ปั้นจั่น ต้องทำการ Load test ตามที่ประกาศกรมฯ กำหนดหรือไม่

f การรายงานการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์สำหรับปั้นจั่นฯ ต้องรายงานตามแบบใด

f ปั้นจั่นพิกัดยกไม่ถึง ๑ ตัน ต้องจัดให้มีการทดสอบตามประกาศกรมฯหรือไม่

f วิศวกรระดับใดที่สามารถทดสอบและควบคุมงานทดสอบปั้นจั่น รวมถึงการลงนามเอกสารในแบบฟอร์ม ปจ.๑ และ ปจ.๒

f ภาพถ่ายของวิศวกรขณะทดสอบและควบคุมงานทดสอบปั้นจั่น ต้องอยู่ในขั้นตอนใดของการทดสอบ

f หากไม่สามารถทดสอบปั้นจั่นบางตัวได้เนื่องจากสภาพพื้นที่ไม่เอื้ออำนวย และความเสี่ยงสูงจะมีวิธีการอย่างไรจึงจะรับรองปั้นจั่นได้

f จะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร กรณีที่ผู้บริหารคนเดียวกัน ต้องกำกับดูแลสำนักงานสาขามากกว่า ๑ สาขา หรือมากกว่า ๑ จังหวัด อย่างไรดี

f มีข้อกฎหมายรองรับการขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตผู้ให้บริการเกี่ยวกับ งานตรวจวัด ตรวจสอบ ทดสอบ ประเมินความเสี่ยง เครน ปั้นจั่น เครื่องมือทุ่นแรง ตามมาตรา ๙ และมาตรา ๑๑ แห่ง พ.ร.บ. ความปลอดภัยฯ หรือไม่

f หน่วยงานและองค์กรย่อยในแต่ละพื้นที่ของบริษัทฯที่เข้าข่าย ปฏิบัติตามมาตรา ๑๘ แห่ง พ.ร.บ. ความปลอดภัยฯ หรือไม่

f ตามนิยามของคำว่า “ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน คำว่า “จิตใจ” หมายความว่าอย่างไร

f กำหนดบุคลากรระดับหัวหน้างาน และระดับบริหาร เพื่ออบรมหลักสูตร จป. อย่างไร

f การกำหนดสัดส่วน และการกำหนดให้มี จป. บุคลากร หน่วยงาน หรือคณบุคคล เพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ ตามมาตรา ๑๓ สามารถอ้างอิงกฎกระทรวง จป. หรือรอการประกาศกฎกระทรวงฉบับใหม่

f การดำเนินการตามมาตรา ๓๒ แห่ง พ.ร.บ.ความปลอดภัยฯ สามารถอ้างอิงกฎกระทรวง จป. ได้หรือไม่

f การปฏิบัติตามมาตรา ๑๙ แห่ง พ.ร.บ.ความปลอดภัยฯ มีขอบเขตอย่างไร

f หากผู้รับเหมา ซึ่งเป็นผู้รับเหมาช่วงบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต นายจ้างมีหน้าที่ต้องดำเนินการแจ้งตามมาตรา ๓๔ แห่ง พ.ร.บ. ความปลอดภัยฯ อย่างไร

f ประกอบกิจการโรงแรม ต้องแต่งตั้ง จป. หรือไม่

f กรณีจ้างบริษัทรับเหมา ถ้าลูกจ้างประสบอุบัติเหตุจากการทำงานใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ ตามกฎหมายความปลอดภัย

f กรณีจ้างพนักงานเป็นรายวัน ต้องปฏิบัติตามตามกฎหมายความปลอดภัยฯ หรือไม่

f กรณีลูกจ้างทำงานสัมผัสไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์ (isopropyl alcohol) ต้องจัดให้มีการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงหรือไม่

f มีบริษัทในเครือจำนวน ๗ บริษัท จะแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยฯ อย่างไรดี

f ผู้ที่ผ่านการอบรมเกี่ยวกับปั้นจั่นในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งแล้วไม่ต้องเรียนความรู้ภาคทฤษฎี ๖ ชั่วโมงอีกหรือไม่

f บริษัทฯ ประกอบกิจการที่มีกิจการขนส่งรวมอยู่เข้าข่ายที่จะต้องดำเนินการ ตามกฎกระทรวงฯ จป. หรือไม่

f ผู้ควบคุมหม้อน้ำ” หมายถึงบุคคลที่เป็นของสถานประกอบกิจการ หรือเป็นคนของบริษัทผู้รับเหมา หรือเป็นใคร

f ในกรณีที่หัวหน้างานของบริษัทฯ บางตำแหน่งไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องฝึกอบรมในหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานด้วยหรือไม่

f มีแนวทางในการเขียนแผนงานด้านความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง อย่างไร

f มีบริษัทในเครือ จำนวน ๑๖ บริษัท และมีสาขาของแต่ละบริษัท เข้าข่ายต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอมัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หรือไม่

f บริษัทฯ ต้องทำการตรวจสอบและการทดสอบปั้นจั่นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น หรือไม่

f ใช้แบบฟอร์มใด ในการทดสอบตามกฎหมายปั้นจั่นตามกฎหมาย ตามกฎกระทรวงฯ เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๔๙

f ปัจจุบันบริษัทฯ สามารถให้เทศบาลตำบลฯ เป็นผู้ดำเนินการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น และฝึกซ้อมดับเพลิงและซ้อมอพยพหนีไฟได้หรือไม่

f บริษัทฯ ประกอบกิจการเป็นผู้ให้บริการบริหารจัดการอาคารสูง ต้องปฏิบัติตามกฎหมายด้านความปลอดภัยหรือไม่

f ประกอบกิจการประกอบและขายอาหารให้กับพนักงานในโรงงานอื่น มีลูกจ้าง ๙๐ คน ต้องมี จป. และคปอ. หรือไม่

f ค่ามาตรฐานค่าความเข้มของแสงสว่างในงานธุรการที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ

f หน่วยงานรัฐวิสาหกิจประเภทสำนักงานต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวง จป. พ.ศ. ๒๕๔๙ หรือไม่

f เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจที่ประกอบกิจการประเภทสำนักงาน แต่ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ต้องมีองค์ประกอบ และมีหน้าที่ตามกฎกระทรวง จป. พ.ศ. ๒๕๔๙ หรือไม่

f จป. วิชาชีพที่ขึ้นทะเบียนเป็น จป. วิชาชีพกับกรมฯ สามารถรับรองรายงาน ผลการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงานได้หรือไม่

f ลูกจ้างที่จ้างเหมาเข้ามาทำงานในสถานประกอบกิจการ เช่น แม่บ้าน คนสวน พนักงานรักษาความปลอดภัย ต้องนับรวมเป็นลูกจ้างของสถานประกอบกิจการหรือไม่

f ศูนย์ปฏิบัติการ ซึ่งมีสถานีควบคุมเป็นหน่วยงานย่อย แต่มีที่ตั้งอยู่คนละเขตรั้วหรือคนละจังหวัดกับศูนย์ปฏิบัติการ ต้องรวมพนักงานแต่ละสถานีควบคุม เป็นลูกจ้างของศูนย์ปฏิบัติการหรือไม่

f การปฏิบัติตามกฎกระทรวง จป. พ.ศ. ๒๕๔๙ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ข้อ ๕ และข้อ ๖ ให้ยกเลิก โดยให้ปฏิบัติตามมาตรา ๑๔ และมาตรา ๑๖ แห่ง พ.ร.บ. ความปลอดภัยฯ พ.ศ. ๒๕๕๔ ใช่หรือไม่

f ผู้ที่เคยได้รับการอบรมหลักสูตรคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ต่อมาได้รับการแต่งตั้งหรือเลือกตั้งเข้ามาเป็นคณะกรรมการชุดใหม่ ต้องเข้ารับการอบรมตามหลักสูตรดังกล่าวอีกหรือไม่

f ความตามข้อ ๓๘ แห่งกฎกระทรวง จป. พ.ศ. ๒๕๔๙ ในเรื่องเกี่ยวกับการแจ้งการประสบอันตราย ยกเลิก ให้ปฏิบัติตามมาตรา ๓๔ แห่ง พรบ. ความปลอดภัยฯ ใช่หรือไม่

f กรณีที่ จป. วิชาชีพหรือ จป. ระดับอื่นที่เคยแจ้งชื่อเพื่อขึ้นทะเบียนต่อสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานพื้นที่ หรือจังหวัด แล้วย้ายสถานที่ทำงานจำเป็นต้องแจ้งยกเลิกการขึ้นทะเบียน หรือไม่

f จป. วิชาชีพที่จบวุฒิปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัย ของสถานประกอบกิจการ ต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้รับรองรายงานการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงาน ของกฎกระทรวง จป. พ.ศ. ๒๕๔๙ หรือไม่

f กรณี มีหัวจ่ายน้ำอยู่ใกล้กับบริเวณโรงงาน รวมถึงบ่อน้ำบาดาลภายในบริษัทฯ บริษัทฯ ต้องมีการจัดเตรียมน้ำสำรองตามกฎกระทรวงฯ อัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ หรือไม่

f เครนแต่ละชนิดของบริษัทฯ เข้าข่ายที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับปั้นจั่นหรือไม่

f พนักงานระดับบังคับบัญชาเดิม ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร จป. บริหารแล้ว ต่อมาตำแหน่งดังกล่าวถูกปรับเป็นระดับหัวหน้างาน จะต้องอบรมหลักสูตร จป. หัวหน้างานอีกหรือไม่

f การเก็บรักษาสารเคมีอันตรายตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖

f ช่อง Service ระหว่างท่อวางสายโทรคมนาคม เข้าข่ายเป็นที่อับอากาศหรือไม่