Adipic acid

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  1,6-Hexanedioic Acid

        ชื่อเคมีทั่วไป    Adipic acid

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Hexanedioic acid; 1,4-Butanedicarboxylic acid ; Acifloctin; Acinetten; Adipinic Acid; Octafluorohexanedioic acid;

        สูตรโมเลกุล      C6H10O4

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์8

        รหัส IMO        –

        CAS No.  124-04-9        

        รหัส EC NO.    607-144-00-9

        UN/ID No.      –               

        รหัส RTECS AU 8400000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        2.4-673-3

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       J.T. Baker.com

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 124-04-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารทำปฏิกิริยาในห้องทดลอง
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    >11000 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     7.5 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         –    

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        0.84 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผง

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  146.14

        จุดเดือด(0ซ.) : 337

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    152

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.36

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    5

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    1 ที่ 159.5 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :   ละลายได้เล็กน้อย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    3.2 ที่ 25 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   5.98

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.17 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายได้ดีในแอลกอฮอล์ และละลายได้ในอะซิโตน

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเอาฝุ่นของสารเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ไอ และจาม

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง สำหรับการสัมผัสสารซ้ำ ๆ ทำให้เกิดการอับเสบของผิวหนังบริเวณที่สัมผัสได้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จากข้อมูลการศึกษาในสัตว์ของเชื่อว่าสารจะทำให้เกิดพิษเล็กน้อย

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา เกิดตาแดง และมีอาการปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลายระบบประสาท ทางเดินอาหาร และเลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้ความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: อากาศ ความร้อน และฝุ่น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : เมื่อได้รับความร้อน สารจะสลายตัวเกิดเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            196

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    420

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    110

         สารดับเพลิง : ให้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือคาร์บอนไดออกไซด์

                – ความเข้มข้นที่เพียงพอของฝุ่นละเอียดที่แพร่กระจายในอากาศ และอยู่ในบริเวณที่มีแหล่งจุดติดไฟจะสามารถเกิดการระเบิดได้

                – ความเข้มข้นของสาร (ฝุ่น) ในอากาศที่น้อยที่สุดที่ทำให้เกิดการระเบิดได้ คือ 10-15 มิลลิกรัมต่อลิตร

                – อันตรายจากเพลิงไหม้จะมีเล็กน้อย เมื่อสัมผัสกับความร้อน หรือเปลวไฟ

                – ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บภายในที่ที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศในพื้นที่อย่างดี

        สถานที่เก็บ :

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บแยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่นขึ้นและควบคุมแหล่งจุดติดไฟ

                – ให้มีการต่อสายดิน และใช้อุปกรณ์ท่อระบายไอและลิ้นระบายเพื่อป้องกันการระเบิดที่ได้รับการยอมรับทางวิศวกรรมในทุกกระบวนการผลิตที่สามารถทำให้เกิดฝุ่นหรือไฟฟ้าสถิตย์ขึ้น

                – ภาชนะบรรจุที่เป็นถังเปล่า จะต้องเก็บไว้ในบริเวณที่ไม่มีสารไวไฟ และเฉื่อยต่อปฏิกิริยา

                – การเก็บภาชนะบรรจุสารเคมีนั้นในสภาพบรรยากาศที่ไม่เฉื่อยต่อปฏิกิริยา อาจทำให้ไอระเหยของสารเกิดประกายไฟหรือระเบิดขึ้นได้ จากการคลายประจุไฟฟ้าของสาร

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

         – ให้เคลื่อนย้ายของการจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

         – จัดให้มีการระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล

         – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

         – ให้ทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหลเพื่อไม่ให้เกิดฝุ่นฟุ้งกระจายไปในอากาศ

         – ลดฝุ่นในบรรยากาศและป้องกันการทำให้กระจายโดยทำให้ชื้นด้วยน้ำ

         – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุปิดมิดชิดเพื่อนำไปแปรรูปใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

         – ต้องรายงานการหกรั่วไหล การปนเปื้อนดิน น้ำ และอากาศมากเกินกว่าปริมาณที่ต้องรายงาน

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

         – ถุงมือ ให้ใช้ถุงมือยาง

         – แว่นตา ให้ใช้แว่นตานิรภัยพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย และนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติและนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างผิวหนังออกทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมทั้งถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออกหากอาการยังไม่ทุเลาลงหรือเกิดการระคายเคืองให้ส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดน้ำล้างตาทันที ด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับการกระพริบตาถี่ ๆ แล้วนำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –  

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :        

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : –

        DOT Guide :  –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557