คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุออกซิไดซ์ และออกแกนิคเปอร์ออกไซด์

Barium nitrate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Barium nitrate

        ชื่อเคมีทั่วไป    Barium Salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Barium dinitrate; Nitric Acid

        สูตรโมเลกุล      BaN2O6 

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์18

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.        10022-31-8

        รหัส EC NO.  056-002-00-7

        UN/ID No.      1446             

        รหัส RTECS    CQ 9625000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        233-020-5

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  NIOSH

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 10022-31-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 355 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :   4.65 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.0465 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.0465 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 2

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  261.4

        จุดเดือด(0ซ.) :  สลายตัว

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 592-595

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        3.24

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  9 ที่  –0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5-8ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  10.69

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.093 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  สารนี้สลายตัวเมื่ออุณหภูมิถึงอุณหภูมิจุดเดือด

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปทำให้ชีพจรเต้นไม่เป็นจังหวะ หัวใจเต้นช้ากว่าปกติ ความดันเลือดสูงขึ้น หมดสติ ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว กล้ามเนื้อเกร็ง

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง ทำให้แสบไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองเยื่อเมือก คลื่นไส้ น้ำลายฟูมปาก อาเจียน เวียนศีรษะ ปวดท้องและท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา ตาแดง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ หัวใจ ระบบประสาทส่วนกลาง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด สารออกซิไดส์ โลหะผสมอะลูมิเนียม-แมกนีเซียม แบเรียมไดออกไซด์ สังกะสี

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ก๊าซไนตรัส ออกซิเจน          

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ แต่จะติดไฟเมื่อสัมผัสกับสารไวไฟ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดก๊าซหรือไอระเหยที่เป็นอันตราย

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากเปลวไฟ ประกายไฟ ความร้อน สารไวไฟ

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Barium Nitrate

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN : UN1446

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – กวาดขณะที่สารแห้ง และป้องกันการทำให้เกิดฝุ่น

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 5 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ ซึ่งเป็นแบบ quarter mask โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 12.5 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองฝุ่น และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าพร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อม tight – fitting facepiece ซึ่งมีการทำงานของอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 100 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำปริมาณมากๆ กระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ ให้ผู้ป่วยดื่มโซเเดียมซัลเฟต (1 ช้อนโต๊ะในน้ำ 0.25 ลิตร)

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ พืชและสัตว์ ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1056

        OSHA NO. :    121

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :         อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ cellulose ester membrane 0.8 um

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 ถึง 4 ลิตร

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด 50 ลิตร -สูงสุด 2000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          30

        DOT Guide :              141

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Ammonium nitrate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Ammonium nitrate

        ชื่อเคมีทั่วไป    Nitric acid ammonium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Ammonium (i) nitrate ; Nitric acid ; Ammonium salt; Varioform

        สูตรโมเลกุล      NH4NO3

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์13

        รหัส IMO        12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.  6484-52-2        

        รหัส EC NO.   –

        UN/ID No.      1942, 0222, 2426                          

        รหัส RTECS    BR 9050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        229-347-8

        ชื่อวงศ์        Ammonium salt / nitrate

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 6484-52-2                 
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ทำปุ๋ย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4820 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         –   

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 2

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  80.04

        จุดเดือด(0ซ.) : 210

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    170

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.8

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  190 ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    5.43 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.268

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.306 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในเอทานอล อะซิโตน เมทามอล แอมโมเนีย , อุณหภูมิสลายตัว : > 170 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การสูดดมเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อจมูก , เจ็บคอ , ไอ , หายใจถี่ๆ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองเป็นผื่นแดง , ปอดบวม และสารนี้สามารถซึมผ่านผิวหนัง จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไปจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน กล้ามเนื้อท้องหดเกร็ง ผิวหนังซีดเป็นสีน้ำเงิน อ่อนเพลีย

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลายเลือด ระบบประสาทส่วนกลาง ทางเดินอาหาร

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี่มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่เข้ากันไม่ได้ เมื่อปนเปื้อนน้ำมัน ถ่านชาโคล (Chacoal) หรือสารอินทรีย์อื่น ๆ จะทำให้เกิดการระเบิดขึ้น เหล็กกล้า ผงโลหะ โลหะอัคลาไลคาร์ไบด์ ไนไตรท์ สารประกอบแอมโมเนีย สารออกซิไดซ์ สารอินทรีย์ ผงอลูมิเนียม สารอินทรีจำพวกไนไตรท์ ซัลไฟด์ เกลือของออกไซด์โอโลจีนิค คลอเลท

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : การกัดกร่อนต่อโลหะ จะทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับผงโลหะ เสี่ยงต่อการเกิดไฟไหม้ และระเบิดได้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    003

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำในการดับเพลิง ห้ามใช้คาร์บอนไดออกไซด์ โฟม หรือผงเคมีแห้ง

                – การเผาไหม้ และการเผาไหม้และการสลายตัวเนื่องจากความร้อน ทำให้เกิดออกไซด์ของไนโตรเจนและแอมโมเนีย

                – สารนี้ทำปฏิกิริยารุนแรงกับผงโลหะ มีความเสียงต่อการเกิดไฟไหม้และการระเบิด

                – อาจจะลุกติดไฟขึ้นได้กับวัสดุติดไฟอื่นๆ

                – ส่วนผสมของแอมโมเนียไนเตรทตับน้ำมันอาจจะก่อให้เกิดการระเบิดได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่แห้ง และเย็น

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารติดไฟได้ แหล่งประกายไฟและความร้อน

                – ใช้สารในตู้ดูดควันสำหรับสารเคมีเท่านั้น

                – ล้างทำความสะอาดหลังการใช้งาน

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : แอมโมเนียไนเตรท (Ammonium nitrate)

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN : –

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – เก็บกวาดในลักษณะแห้ง เพื่อส่งไปกำจัดต่อไป

        – ล้างทำความสะอาดบริเวณที่หกรั่วไหล/ปนเปื้อน

        – ระมัดระวังการหายใจเอาสารนี้เข้าไป

 

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบากให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนกินเข้าไป ให้ดื่มนมหรือน้ำปริมาณมากๆ กระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ใช้ยาระบายประเภทโซเดียมซัลเฟต(1 ช้อนโต๊ะ ในน้ำ 0.2 ลิตร ) นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :  จะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยน้ำใน้ำ เป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม และอาจมีผลกระทบในการปฏิสนธิ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –         

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –     

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 30

        DOT Guide :   140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Potassium dichromate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Potassium dichromate

        ชื่อเคมีทั่วไป     –

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Dichromic acid, dipotassium salt; Bichromate of potash; Potassium dichromate (VI); Dipotassium dichromate; Iopezite; Chromic acid (H2Cr2O7), dipotassium salt

        สูตรโมเลกุล      K2CR2O7

        สูตรโครงสร้าง     12312201_10207267070088508_1320813676_n

        รหัส IMO   12305387_10207267050808026_116692330_n 12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7778-50-9            

        รหัส EC NO.        024-002-00-6

        UN/ID No.      3085

        รหัส RTECS     KX 7680000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-906-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T.Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7778-50-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นสารในการวิเคราะห์และทดสอบทางเคมี(reagant)ในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 190  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       0.0083(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       0.0042(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : แดงส้ม

        กลิ่น :   ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   294.19

        จุดเดือด(0ซ.) :  500

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 398

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.676

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  6.5 %

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  4.04 ที่250ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  12.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.08  ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สลายตัวที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำลายเนื้อเยื่อและทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลพุพองและเกิดรูพรุนที่ผนังโพรงจมูก รวมถึงอาการลำคออักเสบ ไอ หายใจถี่รัว และหายใจติดขัด อาจทำให้ปอดไวต่อการเกิดภูมิแพ้ถ้าสูดดมเข้าไปมากๆอาจทำให้น้ำท่วมปอดได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนเกิดอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และแผลไหม้อย่างรุนแรง ฝุ่นและสารละลายเข้มข้นจะเป็นเหตุให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง การสัมผัสกับผิวหนังที่แตกเป็นแผลจะทำให้เกิดแผลพุพอง (แผลจากโครเมี่ยม)และสารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังจะมีผลกระทบต่อการทำงานของไตและตับ จะเป็นสาเหตุให้ผิวหนังไวต่อภูมิแพ้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้ปาก ลำคอ และกระเพาะอาหารเป็นแผลไหม้อย่างรุนแรง และอาจจะทำให้ถึงแก่ความตายได้ ทำให้เจ็บคอ อาเจียน และท้องเสีย อาจจะทำให้ลำไส้อักเสบ เวียนศีรษะ กล้ามเนื้อเป็นตะคริว หมดสติ เป็นไข้ ตับและไตถูกทำลาย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะทำให้มองไม่ชัด ตาแดง เจ็บตา เยื่อบุตาเกิดแผลไหม้อย่างรุนแรง จะก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อกระจกตาหรือตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็งตาม IARC, OSHA, ACGIH, NTP,EPA และสารนี้มีผลทำลายไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ปอด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บสารเคมี

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารรีดิวซ์, อะซิโตนกับกรดซัลฟูริค, โบรอนกับซิลิคอน, เอทธิลีนไกลคอล, เหล็ก, ไฮดราซีน และไฮดรอกซี่ลามีน, สารอินทรีย์หรือสารอื่นที่ออกซิไดซ์ได้ง่าย (กระดาษ ไม้ กำมะถัน อลูมินั่มหรือพลาสติก)

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การลุกไหม้ทำให้เกิดก๊าซโครเมี่ยมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   12282908_10207269382986329_2108719215_n

         สารดับเพลิง : ให้ฉีดด้วยน้ำปริมาณมากๆ การใช้นำฉีดเป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

        – สารนี้ไม่ติดไฟแต่เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรง

        – อย่าให้น้ำที่ใช้ดับเพลิงแล้วไหลล้นเข้าไปในท่อระบายน้ำหรือทางน้ำ

        – สารนี้สัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะทำให้เกิดการเผาไหม้อย่างรุนแรงมาก

        – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม้

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย โดยเฉพาะสำหรับงานบำรุงรักษาหรือที่ซึ่งมีการสัมผัสในระดับมากเกินกว่าที่กำหนด

                – ล้างมือ หน้า แขน คอ เมื่อออกจากพื้นที่ควบคุม และก่อนกินอาหาร หรือสูบบุหรี่

                – อาบน้ำถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนออกและสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาดหลังจากเลิกงานแต่ละวัน หลีกเลี่ยงการใช้เสื้อผ้าที่ปนเปื้อน

                – ภาชนะของสารนี้อาจจะเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่า เนื่องจากมีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง

                – สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อควรระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : โปแตสเซียมไดโครเมท (Pottassium dicromate)

                ประเภทอันตราย : 5.1 , 8

                หมายเลข UN : 3085

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : 400 ปอนด์

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ดูดหรือการเก็บกวาดขณะชื้น เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        – เก็บกวาดและบรรจุใส่ภาชนะบรรจุเพื่อเก็บคืนหรือนำไปกำจัด

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        การกำจัด : การพิจารณาการกำจัดสารนี้ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างปลอดภัยในการนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องจัดการเช่นเดียวกับกากของเสียและส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12309022_10207269202381814_1401123889_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n 12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนและนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือการกลืนเข้าไปและยังมีสติอยู่ อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสตินำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันที่ด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดรองเท้าและเสื้อผ้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออกและนำไปพบแพทย์โดยทันที ล้างทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าให้ทั่วถึงก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาขึ้น – ลง นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : 

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :     30

        DOT Guide :          141

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Hydrogen peroxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Hydrogen dioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป     Hydrogen peroxide ; Hydroperoxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Peroxide; Albone; Inhibine; Perhydrol; Peroxan; Oxydol; Hioxy; Dihydrogen dioxide; T-stuff; Superoxol; H2O2; Hydrogen Peroxide, 30%

        สูตรโมเลกุล      H2O2

        สูตรโครงสร้าง    12285691_10207267048407966_236824904_n

        รหัส IMO      12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7722-84-1            

        รหัส EC NO.        008-003-00-9

        UN/ID No.      2984, 2015

        รหัส RTECS        MX 0900000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-765-0

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Orion Laboratories Pty Ltd.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7722-84-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารฆ่าเชื้อบาดแผล หรือฆ่าเชื้อโรค
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 4060  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :     –

        IDLH(ppm) :   75(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       1(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       1(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ฉุน

        นน.โมเลกุล :   34.0

        จุดเดือด(0ซ.) :  100

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -11.1

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.00

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.2

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  5ที่ 25 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.39

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.719  ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สามารถละลายได้ในอีเทอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนจะก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้ไวต่อการสัมผัส เกิดผื่นแดง และปวดแสบปวดร้อน

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ ปวดท้องและอาเจียนได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา ตาแดง และปวดตา สายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ทำลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ เหล็ก คอปเปอร์ ทองเหลือง ทอง โครเมียม สังกะสี ตะกั่ว แมงกานีส เงิน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน และแสงสว่าง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจน และออกซิเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง โฟม หรือคาร์บอนไดออกไซด์

        – สารนี้เป็นสารไวไฟ

        – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับอุณหภูมิสูง

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
        การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารไวไฟ สารรีดิวซ์ และเบสเข้มข้น

                – เก็บไว้ที่อุณหภูมิระหว่าง 15 – 30 องศาเซลเซียส

                – ป้องกันแสงสว่าง

                – สารจะสลายตัวเป็นออกซิเจน และไฮโดรเจน เมื่อสัมผัสความ้อนสูงและแสงสว่าง

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล : ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่น

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลใส่ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกได้และติดฉลากสำหรับนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ

        การกำจัด : ปฎิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 

12277978_10207269044017855_554821809_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 10 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

                       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 75 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ( ถ้าใส่ contact lens อยู่ให้ถอดออก ) ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออกและฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำเย็นอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และการจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :    126SG

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  30, 31

        DOT Guide :       140, 143

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557