Lithium carbonate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Lithium carbonate

        ชื่อเคมีทั่วไป    –

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Carbonic acid dilithium salt ; Carbonic acid lithium salt ; Carbonic acid, dilithium salt; Carbonic acid lithium salt; Camcolit; Liskonum; Phasal; Priadel; Lithium Carbonate, 99.99%;

        สูตรโมเลกุล      Li2CO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์30

        รหัส IMO     2

        CAS No.        554-13-2

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.      –          

        รหัส RTECS    OJ 5800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        209-062-5

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  Across Organics N.V.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  One Reagent Lane, Fairlawn NJ 07410

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 554-13-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเซลล์เชื้อเพลิง และเป็นยากล่อมประสาท (Phycho pharmacoolgical)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :     525  (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  73.88

        จุดเดือด(0ซ.) :  1310

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   618

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.1

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  เล็กน้อย

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : 1.5 %

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  10-11

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm = 3.02

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองทางเดินหายใจ ทำให้มีอาการอาเจียน ท้องร่วง

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร ระคายเคืองต่อเยื่อบุในปาก หลอดลม หลอดอาหาร และระบบลำไส้ วิงเวียน อาเจียน และท้องร่วง จะเป็นอันตรายหากกลืนเข้าไป

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ปวดตา และสายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตาม ACGIH ,IARC , NTP , NIOSH , OSHA

                – เมื่อร่างกายดูดซึมจนถึงระดับที่ก่อพิษ จะทำให้ระบบประสาทส่วนกลางผิดปรกติ การมองเห็นผิดปกติ ง่วงซึม หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจตีบตัน เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ มีอันตรายต่อไต ระบบประสาทส่วนกลาง ต่อมไทรอยด์ ระบบหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้อุณหภูมิและความดันปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : โลหะอัลคาไลน์เอิร์ธในสภาพที่เป็นผง อาจก่อให้เกิดการระเบิด ฟลูออรีน กรดเข้มข้น สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์ ออกไซด์ของลิเธียม        

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   100

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ สำหรับเพลิงไหม้เล็กน้อยให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ หรือโฟมเคมี

                – สำหรับเพลิงไหม้รุนแรง ให้ใช้ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ โฟมชนิดต้านแอลกอฮอล์ หรือฉีดน้ำเป็นฝอย

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)ที่ผ่านการรรับรองจาก MSHA/NIOSH และชุดป้องกันสารเคมีชนิดปิดคลุมเต็มตัว

                – ความเข้มข้นของฝุ่นที่เพียงพอ จะทำให้ของผสมกับอากาศที่สามารถระเบิดได้ ในระหว่างการเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดก๊าซที่ทำให้ระคายเคืองและก๊าซที่เป็นพิษ จากการสลายตัวเนื่องจากความร้อนหรือการเผาไหม้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง และมีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ทำให้เกิดฝุ่นและการสะสมของฝุ่นน้อยที่สุด

                – ล้างทำความสะอาดให้ทั่วถึงหลังจากการเคลื่อนย้าย

                – ถอดเสื้อผ้าที่เปรอะเปื้อนและล้างทำความสะอาดก่อนนำกลับมาใช้อีกครั้ง

                – ใช้ในขณะที่มีการระบายอากาศที่เพียงพอ

                – หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับตา ผิวหนัง และเสื้อผ้า

                – หลีกเลี่ยงการกลืนหรือกินเข้าไป และการหายใจเข้าไป

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหลทันที ดูข้อควรระวังในส่วนของอุปกรณ์ป้องกันอันตราย

        – เก็บกวาดหรือดูดซับสารที่หกรั่วไหลแล้วเก็บใส่ภาชนะที่ปิดมิดชิด แห้ง สะอาด และเหมาะสม สำหรับนำไปกำจัด

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้ดื่มน้ำหรือนม 2-4 ถ้วย ห้ามนำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :    –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          –

        DOT Guide :              –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557