คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุมีพิษ และวัตถุติดเชื้อ

Mercuric chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Mercuric chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป    Corrosive sublimate ; Mercury bichloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Bichloride of Mercury; Corrosive Sublimate; Mercury perchloride; Corrosive mercury chloride; Mercury (II) Chloride; Mercury chloride; Dichloromercury; Perchloride of mercury; Sublimate; TL 898; Me dichloromercury; Perchloride of mercury; Sublimate; TL 898;

        สูตรโมเลกุล      Hgl2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์36

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        7487-94-7

        รหัส EC NO.  080-010-00-X

        UN/ID No.    1624

        รหัส RTECS    OV 9100000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-299-8

        ชื่อวงศ์  เกลืออนินทรีย์

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  E.M. SCIENCE

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7487-94-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    1 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.025(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      0.1(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึกของแข็ง

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  271.50

        จุดเดือด(0ซ.) :  300

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 277

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        5.44

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  8.7

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1ที่ 136 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  7.4 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  3 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  11.10

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.09 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –     

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจส่วนบน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคือง สารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนัง และทำให้ผิวหนังอักเสบได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนเข้าไปจะทำให้เกิดเป็นพิษ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้มีผลทำลายปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ระบบเลือด และเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารอัลคาไลน์, โปแทสเซียม, โซเดียม

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน, แหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมอร์คิวร์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   300

         สารดับเพลิง : ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพเพลิง

– สารนี้ไม่ไวไฟ

                – สวมใส่เครื่องช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และชุดป้องกันสารเคมี

                – การเกิดเพลิงไหม้จะทำให้ ฟูม/ก๊าซที่เป็นพิษ

                – สารนี้ทำปฏิกิริยากับโซเดียม เอไซด์ ในโตรมิทาไนด์ และกรด ทำให้เกิดการระเบิดจากสาร MERCURY FULMINA

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – ใช้สารเฉพาะในตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น

                – ทำการเคลื่อนย้ายในที่โล่ง

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN :  ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติกรณีเกิดการหกรั่วไหล

        – อพยพคนที่ไม่เกี่ยวข้องทั้งหมดออกจากพื้นที่

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันให้เหมาะสม

        – ขจัดแหล่งการจุดติดไฟใด ๆ จนกระทั่ง บริเวณนั้นถูกพิจารณาว่าปลอดภัยจากการระเบิด หรืออันตรายไฟ

        – บรรจุส่วนที่หกรั่วไหล และแยกออกจากแหล่งสารเคมีนั้น ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากการเสี่ยงอันตราย

        การพิจารณาการกำจัด : เก็บใส่ภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัดให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ให้ช่วยผายปอดถ้าหยุดหายใจ

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้ามีสติ ดื่มน้ำและทำให้อาเจียนโดยทันทีพร้อมนำส่งแพทย์ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยหมดสติ ถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนออกและล้างก่อนใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างอย่างทั่วถึงทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างทันที โดยให้น้ำไหลผ่านอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Calcium oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  –

        ชื่อเคมีทั่วไป    Calcium oxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Lime; CALX; Quicklime; Calcium monoxide; Burnt lime; Pebble Lime; Unslaked lime; Fluxing lime; Calcia; Calcium Oxide, 99.9%

        สูตรโมเลกุล      CaO

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์25

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        1305-78-8

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.      1910           

        รหัส RTECS    EW 3100000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-138-9

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  JT.Baker

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1305-78-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในกระบวนการทำเซรามิกส์ ใช้ทำให้สารลอยตัว ใช้ในการทำซิลิกา-เจล  
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : –

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :  11 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      2.18 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      2 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :               –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผง

        สี : สีขาวถึงเหลือง

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  56.08

        จุดเดือด(0ซ.) :  2850

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 2572

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        3.37

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.9

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้เล็กน้อย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  12.5 ที่ 210ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.29

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.44ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้เมื่อละลายน้ำเกิดการคายความร้อน และทำให้เกิดแคลเซียมไฮดรอกไซด์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเอาฝุ่นของสารนี้เข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรงและมีฤทธิ์กัดกร่อนต่อทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดอาการไอ จาม เจ็บคอหายใจติดขัด หายใจถี่รัว และมีอาการแผลไหม้ภายในโพรงจมูก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคือง จะมีฤทธิ์กัดกร่อนต่อผิวหนังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดผื่นแดง และมีอาการปวดแสบปวดร้อน

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะมีฤทธิ์กัดกร่อนต่อหลอดอาหาร ทำให้เกิดอาการปวดท้อง ท้องร่วง คลื่นไส้ อาเจียน เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์เป็นเบส จึงอาจทำให้เกิดแผลไหม้บริเวณปากและลำคอ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรงและเกิดการทำลายเนื้อเยื่อตา ทำให้ตาแดง น้ำตาไหล ตาพร่ามัว ปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การสัมผัสเป็นเวลานาน ๆ การหายใจเอาฝุ่นเข้าไปเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เกิดการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ เกิดแผลเปื่อยของเยื่อเมือก และอาจทำให้โพรงจมูกเป็นรูได้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร เมื่อเก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดภายใต้อุณหภูมิห้อง

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : น้ำ กรด อากาศชื้น ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด์ บอริคออกไซด์บอริค ไอน้ำ สารอินทรีย์อื่น ๆ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อากาศ ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไม่มีสารอันตรายที่เกิดจาการสลายตัว       

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   101

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

          การระเบิด : สารนี้อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดได้จากการผสมหินปูน และน้ำที่อุณหภูมิสูง ๆ จะทำให้เกิดการระเบิดได้

          การเกิดไฟไหม้ : จะทำให้เกิดอันตรายจากไฟ จากการที่ปูนขาวกับน้ำผสมกันทำให้เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน ผลของความร้อนกับวัตถุที่ติดไฟได้เอง จะทำให้เกิดการติดไฟขึ้นทันที

                    – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหมให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – มีการระบายอากาศในพื้นที่

                – เก็บห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – มีการป้องกันความเสียหายจากทางกายภาพ

                – สารนี้เป็นด่างเข้มข้นเมื่อถูกความชื้นจะทำให้ภาชนะบรรจุบวม เกิดความร้อนจนทำให้ระเบิดได้

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้ที่เป็นถังเปล่าแต่มีกากสารเคมีตกค้าง เช่น ฝุ่นหรือของแข็ง อาจก่อให้เกิดอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือน และข้อระวังทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล : ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ควบคุมคนที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่มีการป้องกันอันตรายออกจากบริเวณที่ที่มีการหกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสำหรับการนำกลับมาใช้หรือการกำจัด

        – ควรใช้วิธีซึ่งไม่ทำให้เกิดฝุ่นขึ้น

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นทำให้อาเจียน ให้ดื่มน้ำหรือนมปริมาณมาก ๆ ถ้าทำได้ ห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ทันที ให้ทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ล้างโดยให้น้ำไหลผ่าน ถ้าเกิดการระคายเคืองขึ้น ให้นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย และดิน

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

                  – ส่งผลกระทบที่เป็นอันตรายเนื่องจาเปลี่ยนแปลงพีเอช

                  – อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7020

        OSHA NO. :    121

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :         อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 um cellulose ester membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 ถึง 5 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 20 ลิตร , 400 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          42

        DOT Guide :              157

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Barium dichloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   Barium chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป     Barium chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Barium dichloride; Ba 0108E; Barium Chloride solution, 1.0N

        สูตรโมเลกุล      Bacl2

        สูตรโครงสร้าง   12285870_10207256021012288_140747856_n

        รหัส IMO    12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        10361-37-2

        รหัส EC NO.   056-004-00-8

        UN/ID No.      1564              

        รหัส RTECS    CQ 875000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         233-788-1

        ชื่อวงศ์  Inorganic salt

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า EM Science

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 10361-37-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 118 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :   5.87 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       0.058 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   208.24

        จุดเดือด(0ซ.) :  1560

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 960

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        3.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 60 ที่  –0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5-8 ที่ – 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  8.516

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.117 ppm ที่-25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ระดับโปแตสเซียมในโลหิตต่ำกว่าปกติ รวมทั้งมีอาการคลื่นไส้ ปวดท้อง ความดันโลหิตสูงขึ้น เจ็บคอ หายใจติดขัด และมีอาการคล้ายการกลืนหรือกินเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ถ้าสัมผัสนานๆจะทำให้ระดับของโปแตสเซียมในโลหิตลดต่ำลง รวมทั้งมีอาการคลื่นไส้ ปวดท้องเกิดผื่นแดงและปวดได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้เกิดอากาศปวดท้อง อาจทำให้เกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง เจ็บตา ท้องร่วง อาเจียน สั่น รู้สึกอ่อนเพลีย เกิดอัมพาตที่แขนและขาได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตาม IARC , NTP , OSHA และสารทำลายหัวใจ ประสาท ไต ระบบทางเดินอาหาร ไขกระดูก ม้าม ตับ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : โบรมีนไตรฟลูออไรด์(Bromine trifluoride)

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ฝุ่น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : แบเรียมออกไซด์ กรดเกลือ(HCl)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   12285741_10207269231862551_138656117_n

         สารดับเพลิง : ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – การดับเพลิงขั้นรุนแรง ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – ขณะเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดการสลายตัวทำให้เกิดฟูม/ก๊าซพิษ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บภายในห้องควบคุมอุณหภูมิ มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเอาฝุ่นของสารนี้เข้าไป อย่าให้สัมผัสถูกตาผิวหนัง หรือเสื้อผ้า

                – ล้างทำความสะอาดให้ทั่วหลังจากการเคลื่อนย้ายสารนี้

                – ติดตั้งอุปกรณ์ฉีดล้างตาฉุกเฉิน และอุปกรณ์ความปลอดภัยอื่นๆ

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ให้อพยพบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – กั้นแยกแหล่งจุดติดไฟใดๆออกจากพื้นที่หกรั่วไหลจนกระทั่งมั่นใจว่าปลอดภัยจากการเกิดอัคคีภัยและการระเบิด ถ้าทำได้อย่างปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัดที่เหมาะสม

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

        สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 5 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ ซึ่งเป็นหน้ากากแบบ quarter mask โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

        สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 12.5 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองฝุ่น และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece ซึ่งมีการทำงานของอัตราการไหลแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือพร้อม tight – fitting facepiece และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้กระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้กินเกลือเอฟซอม 1 ช้อนโต๊ะ ละลายในน้ำ 1 แก้ว ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ห้ามนำสิ่งใดเข้าปาก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยสบู่และน้ำปริมาณมากๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้ำ 15 นาที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                – เมื่อผสมกับน้ำก่อให้เกิดอันตราย

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7056

        OSHA NO. :    121

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :         อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 micro meters cellulose ester membrane filter

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 ถึง 4 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด 50 ลิตร , สูงสุด 2000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :   154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Arsenic trioxide

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Arsenic (III) oxide or Diarsonic trioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Arsenic trioxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Arsenic oxide ; Arsenous trioxide; Arsenous acid; Arsenous oxide; Arsenic sesquioxide; White Arsenic; Diarsenic Trioxide; Crude Arsenic; Arsenic (white); Arsenious oxide; Arsenic (III) trioxide; Arsenous anhydride; Arsenite; Arsenolite; Arsenous acid anhydride; Arsenous oxide anhydride; Arsodent; Claudelite; Claudetite; Arsenic oxide (3); Arsenic oxide (As2O3); Arsenic sesquioxide (As2O3); Arsenicum album ; Diarsenic oxide; ARSENIOUS OXIDE, 99.999%;

        สูตรโมเลกุล      AS2O3

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์15

        รหัส IMO        12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.  1327-53-3    

        รหัส EC NO.    033-003-00-0

        UN/ID No.      1561            

        รหัส RTECS     CG 3325000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-481-4

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       JT.BAKER Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1327-53-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร , ทำโลหะอัลลอยด์ เนื้อสี เซรามิค สารกัดสีในแก้ว สารฆ่าแมลง สารถนอมเนื้อไม้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    14.6 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        0.012 (ppm)        

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        0.012(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 4

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผง ผลึก ของแข็ง

        สี : ขาว ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  197.84

        จุดเดือด(0ซ.) : 465

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    315

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        3.74

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  3.7 ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  8.09

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.12  ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป สารหนูจะทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุมีอาการไอและมีเสมหะ กระสับกระส่าย หายใจติดขัด ปอดบวม และน้ำท่วมปอด ภาวะที่ผิวหนังเป็นสีน้ำเงินเนื่องจากขาดออกซิเจน และเสียงหายใจที่ผิดปกติและมีอาการเหมือนกับการส้มผัสโดยการกินหรือการกลืนเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง : จะเป็นเหตุให้เกิดการระเคือง อาการผื่นแดง การทำให้คัน และเจ็บปวด

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป ทำให้เกิดอาการอาเจียน , ท้องร่วง , หนาวสั่น , ความดันโลหิตต่ำ , อ่อนเพลีย , ปวดศีรษะ , เป็นตะคริว , ชักและเกิดอาการโคมาได้ อาจก่อให้เกิดการทำลายตับและไต อาจทำให้เสียชีวิตได้เนื่องจากระบบหายใจล้มเหลว

        สัมผัสถูกตา : สัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองกับทำให้เกิดอาการคัน การไหม้ น้ำตา จะทำให้เยื่อตาขาวถูกทำลาย

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สัมผัสเรื้อรัง สัมผัสกับสารหนู (Arsenic)กับผิวหนังบ่อย ๆ เป็นเวลานานจำทำให้ผิวหนังสีอ่อนลง

        – อาการบวมน้ำ ผิวหนังอักเสบ และเสียหายได้รับบาดเจ็บ

        – การหายใจเอาฝุ่นเข้าไปบ่อย ๆ หรือเป็นเวลานาน ๆ จะทำให้เกิดอันตรายต่อผนังแบ่งโพรงจมูก

        – สัมผัสเรื้อรังจากการหายใจเข้าไปหรือกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้ผมร่วง น้ำหนักลด

        – กลิ่นกระเทียมเมื่อหายใจเข้าและการขับเหงื่อออกมา

        – น้ำลายและเหงื่อที่ออกมากเกินไป

        – ระบบเส้นประสาทส่วนกลางถูกทำลาย ตับอักเสบ

        – อาการปั่นปวนในกระเพาะอาหาร

        – หลอดเลือดหัวใจถูกทำลาย และไตและตับถูกทำลาย

        – สารประกอบของสารหนู (Arsenic) รู้ว่าเป็นสารก่อมะเร็งต่อมนุษย์และเป็นสารที่มีผลต่อความผิดปกติของทารกในครรภ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : คงตัวภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บสารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวเป็นควันเป็นพิษปลดปล่อยของ arsenic เมื่อได้รับความร้อนเพื่อการแยกออกเป็นส่วนๆ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ กรดแทนนิค infusion cinchona และผัก อื่นๆ infusions และ decoctions สารละลายเหล็ก รับปิเดี่ยมคาร์ไบด์ คลอรีนไตรฟลูออไรด์ ฟลูออรีน ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ออกซิเจน ฟลูออไรด์ กรด เบส โซเดียมคลอเรต การถูสังกะสี ปฏิกิริยาโลหะอื่นๆ และ ปรอท

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : กัดกร่อนโลหะเมื่อได้รับความชื้น

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    300

         สารดับเพลิง : ฉีดน้ำให้เป็นฝอย สารเคมีแห้ง แอลกอฮอล์ โฟม หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – ไม่ต้องพิจารณาอันตรายจากการระเบิด

                – เพลิงไหม้อาจเกิดขึ้นได้เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นหรือสัมผัสกับแหล่งจุดติดไฟ

                – ฉีดน้ำให้เป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหล่อเย็นภาชนะที่ถูกเพลิงไหม้

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และเครื่องช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกสนิทอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดแน่น

                – เก็บภายในที่ที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศพื้นที่

        สถานที่เก็บ :

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บแยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

                – สำหรับการบำรุงรักษารอยแตกร้าวภายใน หรือที่ซึ่งมีการสัมผัสในระดับมากเกินกว่าที่กำหนด

                – เปลี่ยนเสื้อผ้าที่สะอาดสวมใส่ในตอนเลิกงานของแต่ละวัน

                – อาบน้ำ ทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

                – ล้างมือก่อนการกินอาหารและดื่ม หรือไม่กินก็ตาม

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้จะเป็นอันตรายเมื่อถังเปล่ามีกากสารเคมีหลงเหลืออยู่ ( ฝุ่นของแข็ง )

                – สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อควรระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : RQ อาเซนิคไตรออกไซด์

                ประเภทอันตราย : –

                หมายเลข UN : 1561

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 500 ML

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

         – สวมเครื่องมือเป็นการป้องกันส่วนตัวเหมาะสม

         – เก็บกวาดและบรรจุใส่ภาชนะเพื่อเก็บคืนหรือนำไปกำจัด

         – การดูดหรือการกวาดขณะชื้นสามารถใช้ได้เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

         – ต้องรายงานการหกรั่วไหล การปนเปื้อนดิน น้ำและอากาศมากเกินกว่าปริมาณที่ต้องรายงาน

 

        การพิจารณาการกำจัด : ไม่ว่าสารอะไรก็ตามจะไม่สามารถทำได้อย่างปลอดภัย การนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องจัดการเช่นเดียวกับกากของเสียและส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัดกระบวนการใช้หรือการปนเปื้อนของสารนี้จะต้องเปลี่ยนแนวทางในการจัดการของเสียใหม่ กฏระเบียบข้อบังคับของราชการและท้องถิ่นจะแตกต่างกันจากฎระเบียบการกำจัดของรัฐบาลกลาง การจัดการกับภาชนะบรรจุและมิได้ใช้แล้วจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับกฏหมาย ความต้องการของส่วนกลางและท้องถิ่น

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าได้ให้เคลื่อนย้ายออกไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจน รับการดูแลจากแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากินหรือการกลืนเข้าไป กระตุ้นให้อาเจียนโดยทันทีโดยแพทย์ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยหมดสติ ให้อยู่ในความดูแลของแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนออก ได้รับการดูแลทางการแพทย์โดยทันที ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อน 15 นาที ยกเปลือกตาขึ้น ลง นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน , เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำเป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดิบ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –        

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –  

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 36

        DOT Guide :   151

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

4-Nitroaniline

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  1-Amino-4-nitrobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป    P-aminonitrobenzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      4-Nitrobenzenamine; PNA; C.I. 37035; 4-Nitroaniline; P-nitrophenylamine; Azofix red gg salt; Azoic diazo component 37; C.I. developer 17; Developer P; Devol red gg; Diazo fast red gg; Fast red base 2j; Fast red base gg; Fast red 2g base; Fast red 2g salt; Shinnippon fast red gg base; Fast red salt 2j; Fast red salt gg; Nitrazol cf extra; Red 2g base; Fast red gg base; Fast red mp base; Fast red p base; Fast red p salt; Naphtoelan red gg base; Azoamine red 2H; C.I. azoic diazo component 37; 4-Nitroanilene;

        สูตรโมเลกุล      C6H6N2O2

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์7

        รหัส IMO        12305967_10207256021172292_1807016644_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.  100-01-6 , 88-74-4        

        รหัส EC NO.    612-012-00-9

        UN/ID No.      1661             

        รหัส RTECS BY 7000000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        202-810-1

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 100-01-6 , 88-74-4             
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสาร azo copling สีย้อมปฐมภูมิ และใช้ในทางการแพทย์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    –

        LC50(มก./ม3) :         –

        IDLH(ppm) :    53.1 (ppm)     

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         1 (ppm)        

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         1 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผลึก

        สี : เหลือง

        กลิ่น : เกือบไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  138.1

        จุดเดือด(0ซ.) : 332

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    148

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.424

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.8

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    0.0015 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    ~ 7 ที่200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.648   

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.177 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในน้ำ แอลกอฮอล์ อีเธอร์ เบนซีน เมทานอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ จะทำให้มีอาการเจ็บคอ , หายใจถี่ๆ , เวียนศีรษะ , ผิวหนังซีดเป็นสีน้ำเงิน , อ่อนเพลีย

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนี้สามารถซึมผ่านหนังได้ , ผื่นแดง , อาการคล้ายคลึงกับการสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนกินสารนี้เข้าไป จะทำให้มีอาการเจ็บในช่องท้อง , คลื่นไส้ , อาการคล้ายคลึงกับการสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสสารนี้ทางตา จะทำให้มีอาการตาแดง , ปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การได้รับสารในปริมาณมากอาจเป็นอันตรายถือชีวิต ทำลายตับและเลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้สลายตัวเมื่อถูกความร้อน

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: หลีกเลี่ยงไม่ให้สารนี้สัมผัสกับความชื้น , สารอินทรีย์ และกรดซัลฟูริก

                – หลีกเลี่ยงการทำให้สารนี้เป็นผงฝุ่น

                – สารเคมีอันตรายจากการสลายตัว ไอพิษของไนตรัส

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            199

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    521

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    312

         สารดับเพลิง : น้ำ , ผงดับเพลิง

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเป็นภาชนะที่กำลังถูกไฟไหม้

                – ไอระเหยของสารนี้ถ้าผสมกับอากาศอาจจะเกิดระเบิดขึ้นได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในบริเวณที่แห้ง

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดแน่นสนิท

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บสารให้จากเปลวไฟ , ประกายไฟ

                – เก็บแยกจากสารที่เผาไหม้ได้และสารอินทรีย์

                – ห้ามสูบบุหรี่บริเวณที่เก็บรักษาสารนี้

                – เก็บในที่อุณหภูมิ +15 ถึง +25 องศาเซลเซียส

                – เข้าได้เฉพาะผู้ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : –

                ประเภทอันตราย : 6.1

                หมายเลข UN : 1661

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – การกำจัดกรณีสารนี้หกรั่วไหล เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลด้วยความระมัดระวัง และเคลื่อนย้ายไปในที่ที่ปลอดภัย

         – ใช้ภาชนะที่ปิดมิดชิดและใช้อุปกรณ์ที่ป้องกันการระเบิด

         – ควบคุมการเกิดฝุ่น

         – กวาดขณะที่แห้ง เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเอาสารนี้เข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ให้ผู้ป่วยพักผ่อน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนกินสารนี้เข้าไปให้ล้างปากด้วยน้ำ แล้วนำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง ฉีดล้างผิวหนังด้วยสบู่และน้ำ ถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อน นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสารนี้เข้าตาให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :  ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 5033         

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –    

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 UM mixed collulose ester membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 ถึง 3 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 16 ลิตร , 30 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 38

        DOT Guide :   153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

2,4-Dichlorophenol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  2,4 Dichloro-1-hydroxybenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป    2,4-Dichlorophenol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      DCP; 2,4-DCP; 4,6-Dichlorophenol; Dichlorophenol, 2,4-

        สูตรโมเลกุล      C6H4Cl2O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์5

        รหัส IMO        12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.  120-83-2         

        รหัส EC NO.    604-011-00-7

        UN/ID No.      2020              

        รหัส RTECS KS 8575000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        204-429-6

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        Arcos Organics N.V.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       One Reagent Lane Fairawn NJ. 07410

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 120-83-2           
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นตัวทำละลายในการสกัดสารหรือแยกสาร
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    580 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         –    

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผลึกของแข็ง

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : กลิ่นคล้ายยา

        นน.โมเลกุล :  163

        จุดเดือด(0ซ.) : 209- 210

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    42-44

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.383

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    5.62

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    1ที่ 530ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.45 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   6.67

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.15 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในเอทานอล และอีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง อาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารและหลอดอาหาร ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน และท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาเกิดการระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : อวัยวะเป้าหมาย ตับ ไต

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้อุณหภูมิและความดันปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรดคลอไรด์ กรดแอนด์ไฮดราย สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่มีข้อมูล

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไฮโดรเจนคลอไรด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่มีการรายงานไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            113

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    1-0

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    –

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดดับเพลิง ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ หรือโฟมชนิดที่เหมาะสม

                – ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก MSHA / NIOSH และชุดป้องกันสารเคมีชนิดปิดคลุมเต็มตัว

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะทำให้เกิดก๊าซพิษของคาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนคลอไรด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – อุณหภูมิสำหรับเก็บรักษา 15 ถึง 25 องศาเซลเซียส

                – ล้างทำความสะอาดภายหลังจากการเคลื่อนย้าย

                – ใช้เฉพาะในบริเวณที่มีการระบายอากาศดี

                – หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับตา ผิวหนัง และเสื้อผ้า

                – หลีกเลี่ยงการกินหรือการกลืนเข้าไป

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : คลอโรฟีนอล (Chlorophenols)

                ประเภทอันตราย : 6.1

                หมายเลข UN : 2020

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – อพยพคนออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

          – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

           – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลแล้วเก็บใส่ในภาชนะที่เหมาะสมสำหรับนำไปกำจัด

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัดให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยยังมีสติอยู่ในบ้วนปากด้วยน้ำและให้ดื่มน้ำ 2-4 แก้ว นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้า และรองเท้าที่เปรอะเปื้อนออก

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาทีกระพริบตาถี่ ๆ นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ, น้ำเสีย หรือดิน

 

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –          

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 38

        DOT Guide :   153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

1,3-Dinitrobenzene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  1,3-Dinitrobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป    M-Dinitrobenzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Dinitrobenzol; 2,4-Dinitrobenzene; Binitrobenzene; 1,3-Dinitrobenzol

        สูตรโมเลกุล      C6H4N2O4

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์4

        รหัส IMO        12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.  99-65-0         

        รหัส EC NO.    609-004-00-2

        UN/ID No.      1597               

        รหัส RTECS CZ 7350000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        202-776-8

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        Arcos Organics N.V.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 99-65-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตแบตเตอรี่
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    59.5 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     7.5 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         0.15 (ppm)        

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         0.15 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผง,เม็ด

        สี : น้ำตาลอ่อน

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :  168.11

        จุดเดือด(0ซ.) : 297

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    88-90

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.3680

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    5.8

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :   ละลายได้เล็กน้อย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   6.88

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.15 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ก่อให้เกิดอาการไอ หลอดลมอักเสบ คลื่นไส้ และอาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคือง และมีอาการปวดแสบปวดร้อน

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนกินเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ปวดแสบปวดร้อน ไอ หลอดลมอักเสบ คลื่นไส้ และอาเจียน

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง และทำให้ตาแดง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชีรายชื่อของ ACGIH IARC NIOSH OSHA

        – สารนี้มีผลทำลายโลหิต ตับ และมีผลต่ออวัยวะเพศชายและหญิง รวมทั้งระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้อุณหภูมิและความดันปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์ สารรีดิวซ์ เบสเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไนโตรเจนออกไซด์ คาร์บอนมอนออกไซคาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            150

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     2

        UEL % :        22

        NFPA Code :    –

         สารดับเพลิง : ผงเคมีแห้ง น้ำ โฟมเคมี โฟมต้านแอลกอฮอล์

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรอง MSHA / NIOSH และชุดป้องกันเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารรีดิวซ์ สารออกซิไดส์อย่างแรง เบสแก่

                – เก็บห่างจากโลหะ เช่น สังกะสี และดีบุก

                – เก็บห่างจากสารไวไฟ เปลวไฟ และความร้อน

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : DINITROBENZENE

                ประเภทอันตราย : 6.1

                หมายเลข UN : 1597

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลให้เก็บส่วนที่หก ใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม เพื่อนำไปกำจัด

        – ให้ทำสารที่หกรั่วไหลให้ชื้นโดยการฉีดน้ำให้เป็นฝอย

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที โดย กระพริบตาถี่ ๆ ขณะทำการล้าง

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ คาดว่าสารนี้จะเกิดการสลายตัวทางชีวภาพอย่างรวดเร็ว

                – เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ คาดว่าสารนี้จะเกิดการสลายตัวทางชีวภาพโดยปฏิกิริยาโฟโตเคมีคัล และปล่อยไฮดรอกซิลเรดิคัลออกมา

                – คาดว่าสารนี้จะไม่เกิดการรวมตัวกันทางชีวภาพ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : S214 (II-4)            

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง       

        วิธีการวิเคราะห์ :          ไม่ระบุไว้

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 2 mixed cellulose ester membrane filter และ 2 midget bubbler

                – วิธีการวิเคราะห์ให้ใช้ HPLC

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 37

        DOT Guide :   152

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

N-Methylaniline

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   N-Methylbenzeneamine

        ชื่อเคมีทั่วไป     N-Methylaniline

        ชื่อพ้องอื่นๆ      MA ; N-Methyl-phenylamine; N-Monomethylaniline; Methyl aniline; Methylphenylamine; Anilinomethane; (methylamino) benzene; N-methylaminobenzene; N-phenylmethylamine;

        สูตรโมเลกุล      C7H9N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์141

        รหัส IMO   12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        100-61-8

        รหัส EC NO.    612-015-00-5

        UN/ID No.      2294            

        รหัส RTECS     BY 4550000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-699-2

        ชื่อวงศ์                   

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า         MANUEL VILASECA

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 100-61-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    350 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     100(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          0.5(ppm)     

        PEL-STEL(ppm) :     –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         0.5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี-เหลืองอ่อน

        กลิ่น : กลิ่นเอมีนฉุน

        นน.โมเลกุล :   107.16

        จุดเดือด(0ซ.) : 195

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -57

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.989

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.9

        ความหนืด(mPa.sec) :       –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    0.3 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  30

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     7.4

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   4.38

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.23 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายได้ในแอลกฮอล์ อีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน ไอ หายใจติดขัด คลื่นไส้ อาเจียน หายใจถี่รัว ปวดศีรษะ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสทางผิวหนัง ก่อให้เกิดการระคายเคือง ปวดแสบปวดร้อน และอาจเป็นอันตราย ถ้าสารเคมีนี้ถูกดูดซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคือง ไอ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ หายใจติดขัด อ่อนเพลีย

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่ระบุไว้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : กรดแร่ กรดอินทรีย์ สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : คาร์บอนไดออกไซด์ , คาร์บอนมอนนอกไซด์ , ไนโตรเจนออกไซด์ และกรดไฮโดรคลอริค

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            84

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    500

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – อย่าฉีดน้ำเป็นลำตรง ( JET )ไปที่เพลิงไหม้

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

                – ในขณะที่เกิดเพลิงไหม้จะทำให้เกิดก๊าซ/ฟูมพิษออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเอาสารนี้เข้าไป การสัมผัสถูกตา ผิวหนัง และเสื้อผ้า

                – ติดตั้งสายดินเพื่อป้องกันประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ใช้เฉพาะในบริเวณที่มีตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ระบายอากาศในพื้นที่ที่หกรั่วไหลและล้างบริเวณสารหกรั่วไหลหลังจากเก็บกวาดสารเคมีเรียบร้อยแล้ว

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ( PPD/PPE ) ที่เหมาะสม

        – แยกสารที่หกรั่วไหลทางกล หรือดูดซับโดยใช้ถ่านกัมมันเหลว ( ACTIVATED MUD )

        – ปิดกั้นแหล่งของการจุดติดไฟทั้งหมด

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ยากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ( EMILIC ) นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ ทันที อย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ : 

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 3511

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                          – เก็บตัวอย่างแบบ MIDGET BUBBLER

                          – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.2-1 ลิตรต่อนาที

                          – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 11 ลิตร, สูงสุด 100 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 38

        DOT Guide :   153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Methanol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Methanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Methyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Wood alcohol; Carbinol; Methylol; Wood; Columbian spirits; Colonial spirit; Columbian spirit; Methyl hydroxide; Monohydroxymethane; Pyroxylic spirit; Wood naphtha; Wood spirit; Methyl Alcohol (Methanol);

        สูตรโมเลกุล      CH4O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์139

        รหัส IMO    12286089_10207247452278075_1668521281_n12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        67-56-1

        รหัส EC NO.    603-001-01-X

        UN/ID No.      1230            

        รหัส RTECS     –

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-659-6

        ชื่อวงศ์                   

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า         ENDURA MANUFACTURING CO.LTD.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 67-56-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นตัวทำละลาย (SOLVENT)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    5600 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   83840/ 4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     6000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        200(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       200(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      250(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใสไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :   32

        จุดเดือด(0ซ.) : 64.6

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -97.8

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.79

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.1

        ความหนืด(mPa.sec) :       –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    96 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     1.31

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.76 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตา จมูก ลำคอ และทางเดินหายใจ กดระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ง่วงนอน ถ้าสัมผัสปริมาณมากจะทำให้อาการโคม่าและตายได้ เนื่องจากระบบหายใจล้มเหลว

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ไอระเหย ของเหลวของสารนี้ จะทำให้เกิดการสูญเสียชั้นไขมันของผิวหนัง ทำให้ผิวหนังแห้ง แตก และเกิดผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เยื่อเมือกของปากและลำคอ ทำให้เกิดอาการไอ ท้องร่วง ปวดท้อง ปวดศีรษะ และง่วงซึม

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และทำให้เยื่อเมือกตาอักเสบ เกิดตาแดง และสายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ถ้าสัมผัสสารนี้บ่อยๆ และเป็นเวลานาน จะทำให้ผิวหนังอักเสบ และสารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังมีผลทำให้ระบบประสาทส่วนกลางถูกกดทำให้ปวดศีรษะ ง่วงนอน เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และการสัมผัสบริมาณมาก อาจทำให้อาการโคม่าและตายได้ มีผลกระทบต่อการมองเห็น โดยปกติอาการจะรุนแรงขึ้นหลังจาการสัมผัส 12-18 ชั่วโมง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง โลหะอัลคาไลท์ กรดซัลฟูริกและกรดไนตริกเข้มข้น แอลดีไฮด์ และแอซัลคลอไรด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน ประกายไฟ และแหล่งจุดติดไฟอื่นๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          12.2

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    464

        ค่า LEL % :     5.5

        UEL % :        36.5

        NFPA Code :    12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง :  น้ำฉีดเป็นฝอย

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสกับเปลวไฟ และลดการฟุ้งกระจายของไอระเหย

                – อย่าใช้น้ำฉีดเป็นลำเพราะจะทำให้เปลวไฟแพร่กระจาย

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – สารอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้ : คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดซ์ และแหล่งจุดติดไฟ

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Methanol

                ประเภทอันตราย : 3.2 (6.2)

                หมายเลข UN : UN 1230

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ระบายอากาศในบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งทั้งหมดของการจุดติดไฟออกไป

        – ดูดซับสารที่หกรั่วไหลด้วยปูนขาวแห้ง ทราย หรือโซดาแอ๊ซ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 6000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) ซึ่งมีการทำงานของอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ การปฐมพยาบาล ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติและรู้สึกตัวอยู่ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 1/2-1 แก้ว เพื่อเจือจางสาร ถ้าผู้ป่วยอาเจียนให้ก้มศีรษะให้ต่ำลงเพื่อหลีกเลี่ยงการหายใจเอาอาเจียนเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ไหม่ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที โดยเปิดเปลือกตาให้กว้างขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  เอทธานอลจะช่วยเผาผลาญเมทธานอล ควรให้กิน 50% เอทธานอล 1/2-1 ML ต่อน้ำหนักตัว 1 kg ทุกๆ 2-4 ชั่วโมง เป็นเวลา 4 วัน

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – สารนี้สามารถเกิดการย่อยสลายทางชีวภาพได้ง่าย

        – สารนี้คาดว่าจะไม่ก่อให้เกิดการสะสมทางชีวภาพ

        – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เป็นพิษต่อปลา และแพลงค์ตอน

        – เมื่อรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ จะก่อให้เกิดสารผสมที่มีพิษ ไม่สามารถเจือจางได้ และอาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ำ ให้ไอของสารที่ระเบิดได้ ไม่ส่งผลอันตรายต่อระบบบำบัดน้ำทิ้ง หากมีการใช้และจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 2000, 3800

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ Silica gel

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.02 ถึง 2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด ต่ำสุด 1 ลิตร สูงสุด 5 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 16

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Furaldehyde

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Furfural

        ชื่อเคมีทั่วไป     Furfural

        ชื่อพ้องอื่นๆ      2-Furaldehyde; Furfuraldehyde; 2-Furancarboxaldehyde; Fural; Pyromucic aldehyde; 2-Furanaldehyde; 2-Furancarbonal; 2-Furfural; Alpha-furole; 2-Furylmethanal; Artificial ant oil; Artificial oil of ants; U1199; Fufural; Furaldehyde; 2-Formyl furan; Alpha-Furfuraldehyde; Furfural

        สูตรโมเลกุล      C5H4O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์136

        รหัส IMO   12286089_10207247452278075_1668521281_n12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        98-01-1

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      1199            

        รหัส RTECS     –

        รหัส EUEINECS/ELINCS         202-627-7

        ชื่อวงศ์                    

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 98-01-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :   65  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   175/ 6 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     100(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        2(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      2(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี -เหลืองอ่อน

        กลิ่น : คล้ายอัลมอนด์

        นน.โมเลกุล :   96.09

        จุดเดือด(0ซ.) :  162

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -39

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.3

        ความหนืด(mPa.sec) :      –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    1 ที่ 18.5 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  8

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     3.93

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :   การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือก ทางเดินหายใจส่วนบน เกิดอาการเจ็บคอ หายใจลำบาก ปวดศีรษะ ที่ความเข้มข้นสูง ๆ จะมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ปอดบวม และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนัง ภูมิแพ้ สารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังได้ และจะส่งผลต่อระบบของร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้เป็นพิษสูง จะทำให้กระเพาะอาหารและลำไส้ผิดปกติ ประสาทถูกกด ปวดศีรษะอย่างรุนแรง อาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคือง น้ำตาไหล คัน ตาแดง ตาบวม

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  อาจจะเป็นสารก่อมะเร็งได้ จากการศึกษาพบว่าเป็นสารก่อมะเร็งในสัตว์ การสัมผัสถูกสารนี้นานๆจะทำให้ระบบประสาทส่วนกลางผิดปกติ ชักอัมพาต และเมื่อรับเป็นเวลานาน จะทำให้อันตรายต่อตับ ไต

        สัมผัสเรื้อรัง : ทำให้ลิ้นชา ไม่รู้สึกรสชาติ ปวดศีรษะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภูมิห้อง และอยู่ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท จะเปลี่ยนเป็นสีเข้ม เมื่อสัมผัสถูกแสง

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง กรด เบส

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : การสลายตัว เมื่อได้รับความร้อนจะทำให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรุนแรง เมื่อถูกความร้อน หรือสัมผัสกับกรดแร่ หรืออัลคาไลท์

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          60

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    315

        ค่า LEL % :     2.1

        UEL % :        19.3

        NFPA Code :    12309167_10207280591466534_937291503_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือคาร์บอนไดออกไซด์

                – เป็นของเหลวและก๊าซไวไฟ

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศ สามารถระเบิดได้ภายในขีดจำกัดของการติดไฟ และอุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                – จะทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับสารออกซิไดซ์ กรดแก่ เบส ทำให้เกิดเพลิงไหม้และระเบิดได้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท อาจเกิดระเบิดแตกได้เมื่อได้รับความร้อน

                – ไวต่อการเกิดประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – การฉีดน้ำเป็นฝอย จะช่วยในการควบคุมและหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้ และฉีดล้างสารที่หกรั่วไหลให้ออกห่างจากการสัมผัสกับเพลิง และเพื่อเจือจางสารที่หกรั่วไหลให้เป็นส่วนผสมที่ไม่ไวไฟ

                – สวมใส่ชุดป้องกันอันตราย และอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก NIOSH พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – ป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บภายในที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากพื้นที่ที่อาจเกิดอัคคีภัยได้ และห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ต่อสายดินและสายต่อพ่วงระหว่างถังในขณะที่ถ่ายเทสารเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟฟ้าสถิตย์

                – เก็บและใช้ในบริเวณห้ามสูบบุหรี่

                – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ รวมทั้งตัวระบายอกาศชนิดป้องกันการระเบิดได้

                – ภาชนะบรรจุนี้อาจจะเป็นอันตรายได้เมื่อเป็นถังเปล่า เนื่องจาก มีกากสารเคมีตกค้าง เช่น ไอระเหย ของเหลว

                – ให้สังเกตุดูป้ายเตือนอันตรายทุกชนิดสำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : FURFURALDEHYDES

                ประเภทอันตราย : 6.1, 3

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ระบายอากาศในบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – เคลื่อนย้ายแหล่งของการจุดติดไฟออกให้หมด

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ( PPD / PPE ) ให้เหมาะสม

        – กั้นแยกพื้นที่อันตราย

        – ควบคุม / ป้องกันบุคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็น และไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเข้าไป

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บกักของเหลวใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียสารเคมี เพื่อนำไปกำจัดต่อไป ห้ามใช้สารดูดซับที่ติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ ถ้าสารที่หกรั่วไหลและไม่ติดไฟ ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อลดการแพร่กระจายของไอระเหย และเพื่อป้องกันบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดไล่ส่วนที่หกรั่วไหลให้ออกห่างจากการสัมผัสถูกเพลิงไหม้

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n 12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm. : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.=10 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator)โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.=10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน100 ppm. : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.=25 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.= 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge)โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.= 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF.= 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และยังมีสติอยู่ให้ดื่มน้ำหรือน้ำปริมาณมาก ๆ อย่าให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทำความสะอาดด้วยสบู่ และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ล้างทำความสะอาดก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตา ขึ้น-ลง บ่อย ๆ เพื่อให้มั่นในว่าล้างออกหมด นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

        – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2529

        OSHA NO. :   72

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg/ 50mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : สูงสุด 180 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  19

        DOT Guide :   132

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557