คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุมีพิษ และวัตถุติดเชื้อ

Vanadium oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Vanadium pentoxide

        ชื่อเคมีทั่วไป  Vanadium(V) oxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Vanadium oxide; Vanadium oxides; Vanadium(V) pentoxide; V-O; Vanadium (5) oxide; C.I. 77938; Vanadium oxide (C2O5); Vanadium oxide (5); Vanadium pentoxide ; Vanadic anhydride

        สูตรโมเลกุล    V2O5

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์71

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      1314-62-1

        รหัส EC NO.   023-001-00-8

        UN/ID No.   2862,3077

        รหัส RTECS    YW 2460000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-239-8

        ชื่อวงศ์                 –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  J.T. Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                1314-62-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  10 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :     226/6 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :          4.55(ppm)       

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.0067(ppm)  

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :      0.013(ppm)  

        TLV-TWA(ppm) :    0.0065(ppm)  

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :    –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึกของแข็ง

        สี : น้ำตาล-เหลือง

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  181.88

        จุดเดือด(0ซ.) :  1750

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  690

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    3.36

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 6.3

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.1-1%

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  4ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  7.44

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.13ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   สารนี้สามารถสลายตัวที่อุณหภูมิ 1750 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป ละออง ฝุ่น ควันมีความเป็นพิษสูง สัมผัสถูกจะทำให้เกิดอันตรายต่อปอด และหลอดลม ทำให้เกิดอาการระคายเคือง และอักเสบต่อเยื่อบุ หลอดอาหาร ทำให้ลิ้นเปลี่ยนเป็นสีเขียว-ดำ ไอ หายใจถี่รัว หลอดลมตีบ แน่นหน้าอก โรคหืด เป็นผลให้เกิดปอดอักเสบ ปอดบวม อาจถึงตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง มีอาการผื่นแดง ทำให้คัน และปวดแสบปวดร้อน แผลพุพอง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้มีความเป็นพิษสูง อาจทำให้เสียชีวิตได้ จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดศรีษะอาจเกิดโรคโลหิตจางได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอ ละออง และฝุ่นของสารนี้จะทำให้เกิดการระคายเคือง และแผลไหม้ ตาแดง เจ็บตา และอาการเยื่อบุตาอักเสบ

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้จะมีผลต่อการพัฒนาของทารกในครรภ์ เนื้องอก การสัมผัสเป็นเวลานาน ๆ จะทำลายปอด ทางเดินหายใจ และผิวหนัง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้ การเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ลิเธียม กรดเปอร์ออกซีฟอร์มิค และคลอรีนไตรฟลูออไรด์ ส่วนผสมของวาเนเดียมเพนออกไซด์กับแคลเซียม ซัลเฟอร์ น้ำ จะเกิดการลุกติดไฟได้เอง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของวาเนเดียม

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   300

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้สามารถเผาไหม้แต่จะลุกติดไฟได้ยาก

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดแน่นมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศในพื้นที่อย่างดี ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

        สถานที่เก็บ

                – แยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุนี้อาจเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่ามีสารเคมีตกค้าง เช่น ฝุ่น ของแข็ง

                – ให้สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : วาเนเดียมเพนท๊อกไซด์ (Vanadium Pentoxide)

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : 2862

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 500 กรัม

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ควบคุมบุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่มีการป้องกันอันตรายออกห่างจากบริเวณที่หกรั่วไหล

        – สวมใส่อุปกรณ์การป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – เก็บและใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมสำหรับการนำกลับมาใช้ใหม่หรือการนำไปกำจัดโดยใช้วิธีซึ่งไม่ทำให้เกิดฝุ่น

        – ต้องรายงานการหกรั่วไหล การปนเปื้อนดิน น้ำ อากาศ มากเกินกว่าที่ต้องรายงาน

        การพิจารณาการกำจัด : สารนี้ไม่สามารถนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องจัดการเช่นเดียวกับกากของเสีย และส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

                ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 0.5 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1.25 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2.5 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 35 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้อยู่ในความดูแลของแพทย์ทันที กระตุ้นทำให้อาเจียนทันที ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่ที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ , น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   7300,7504

        OSHA NO. :  –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง                

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                  – วิธีวิเคราะห์ให้ใช้ INDUCTINELY COUPLED ARGON PLASMA, ATOMIC EMISSION SPECTROSCOPY

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : -0.8 um cellulose ester membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1 ถึง 4 ลิตรต่อนาที

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        36,49

        DOT Guide :            151,171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium fluoride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium monofluoride

        ชื่อเคมีทั่วไป  Sodium fluoride

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Disodium difluoride; Floridine; Florocid; Villiaumite; NaF; Sodium hydrofluoride; Sodium monofluoride; Trisodium trifluoride; Alcoa sodium fluoride; Antibulit; Cavi-trol; Chemifluor; Credo; Duraphat; Fda 0101; F1-tabs; Flozenges; Fluoral; Fluorident; Fluorigard; Fluorineed; Fluorinse; Fluoritab; Fluorocid; Fluor-o-kote; Fluorol; Fluoros; Flura; Flura-gel; Flura-loz; Flurcare; Flursol; Fungol b; Gel II; Gelution; Gleem; Iradicav; Karidium; Karigel; Kari-rinse; Lea-cov; Lemoflur; Luride; Luride lozi-tabs; Luride-sf; Nafeen; Nafpak; Na frinse; Nufluor; Ossalin; Ossin; Osteofluor; Pediaflor; Pedident; Pennwhite; Pergantene; Phos-flur; Point two; Predent; Rafluor; Rescue squad; Roach salt; Sodium fluoride cyclic dimer; So-flo; Stay-flo; Studafluor; Super-dent; T-fluoride; Thera-flur; Thera-flur-n; Zymafluor; Les-cav; Sodium Fluoride, 99.9%;

        สูตรโมเลกุล    NaF

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์62

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      7681-49-4

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.  1690

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์                 Metallic halide (inorganic salt)

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า   Caledon Laboratories Ltd.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7681-49-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ฟอกขาวในอุตสาหกรรมกระดาษ สิ่งทอ และใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :     64 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :          146 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.46(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    1.46(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :     ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :      สำนักงานอาหารและยา

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง, ผลึก

        สี : ไม่มีสี , ขาว

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  41.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  1695

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  998

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    2.78

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 1.45

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  > 10

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  7.4

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.72

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =  0.58 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคือง เจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง เกิดภาวะลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจน อ่อนเพลีย สารนี้ดูดซึมและเกิดผลกระทบต่อระบบในร่างกายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังทำให้เกิดการระคายเคือง แผลไหม้ ผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน แผลพุพอง และทำให้เนื้อเยื่อบริเวณที่สัมผัสถูกทำลาย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้เจ็บคอ ปวดท้อง ท้องร่วง เป็นตะคริวในท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตลดลง อ่อนเพลีย อาจทำให้เกิดการทำลายสมองและไตได้ และการสัมผัสที่ความเข้มข้นที่ทำให้เสียชีวิตได้ (5-10 g) และก่อให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออ่อนเพลีย ชัก เกิดภาวะการทำงานไม่ประสานกัน หายใจติดขัด ระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทำงานผิดปกติ และทำให้เสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา สายตาพล่ามัวและอาจทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : ผลกระทบต่อการสัมผัสสารนี้เป็นระยะเวลานานทางการหายใจจะก่อให้เกิดอาการหายใจติดขัด ไอ อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น และเกิดภาวะลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภูมิต่ำกว่า 1800 องศาเซลเซียส

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์อย่างแรง กรดแร่เข้มข้น แก้ว

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่มี

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   เกิดออกไซด์ของคาร์บอนและไนโตรเจน ฟูม/ก๊าซพิษของไฮโดรเจนและโซเดียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะทำปฏิกิริยากับกรดฟอมิคที่สามารถระเบิดได้ ทำปฏิกิริยารุนแรงกับอะซิโตนไนไตรส์เซลูโลส สารนี้สามารถทำปฏิกิริยากับกรดทำให้เกิดไฮโดรเจนฟลูออไรด์ซึ่งเป็นพิษและมีฤทธิ์กัดกร่่อนรุนแรง

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   200

         สารดับเพลิง : ให้ใช้สารเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ใช้น้ำฉีดให้เป็นฝอย และโฟม

                – สารนี้จะเกิดติดไฟจากความร้อน, ประกายไฟ เปลวไฟ

                – ไอระเหยของสารนี้อาจไหลแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดติดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุอาจเกิดการระเบิดขึ้นได้จากความร้อนและเปลวไฟ

                – ไอระเหยสามารถทำให้ระเบิดได้ทั้งในร่มและกลางแจ้งหรือในท่อ

                – อันตรายจากการเผาไหม้จะเกิดฟูม/ก๊าซพิฒของคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ และไอระเหย

                – ให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกถ้าทำได้โดยปราศจากความเสี่ยง

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิง เพื่อป้องกันการระเบิดให้ออกห่างจากด้านท้ายของภาชนะบรรจุ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการสัมผัสโดยตรงกับแสง และป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งจุดติดไฟ เปลวไฟและการเอื้อมถึงของมือเด็ก และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : –

                ประเภทอันตราย :  6.1 , 9.2

                หมายเลข UN : UN 1690

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – หยุดการรั่วไหลของสารถ้าสามารถหยุดได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ดูดซับสารที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุอื่น ๆ และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดสำหรับนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่, การดื่มหรือการกิน

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPD/PPR) อย่างเหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

                – ถุงมือให้เลือกใช้วัสดุที่ทำมาจากไนไตร์ ยาง นีโอพริน PVC หรือซาราเนก TM

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 12.5 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 5

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ ซึ่งเป็นแบบ quarter mask โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 62.5 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองฝุ่น และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าพร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                        – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                        – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ แล้วนำไปพบแพทย์โดยด่วน ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้บ้วนล้างปากด้วยน้ำสะอาดและนำผู้ป่วยไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  –  ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 7902 , 7906

        OSHA NO. :   ID 110

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 cellulose ester filter

                –  อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 – 2 ลิตรต่อนาที

                –  ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด 12 ลิตร -สูงสุด 800 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium azide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Sodium azide

        ชื่อเคมีทั่วไป  Azium

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Smite; Hydrazoic acid, sodium salt; U-3886; Sodium azide ;

        สูตรโมเลกุล    NaN3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์56

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      26628-22-8

        รหัส EC NO.  011-004-00-7

        UN/ID No.  1687

        รหัส RTECS    VY 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        247-852-1

        ชื่อวงศ์                 J.T Baker.Inc

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                26628-22-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในขบวนการผลิตดอกไม้ไฟ ถุงลมนิรภัย อุปกรณ์ความปลอดภัยของรถยนต์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    27 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :           –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.11(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     0.1(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :       –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น :  ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  65.02

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   275

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :    1.85

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 2.2

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  72 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   2.659

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.516 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :    อุณหภูมิสลายตัว > 275 องซาเซลเซียส

                – สารนี้สามารถละลายได้ในแอมโมเนียเหลว แต่ไม่สามารถละลายในอีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป ทำให้เกิดการระคายเคือง ระบบทางเดินหายใจ เยื่อบุทางเดินหายใจ แผลที่ลำคอ ไอ จาม หายใจถี่ อ่อนเพลีย หมดสติ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เกิดการระคายเคือง รอยแดง และรู้สึกเจ็บ และมีอาการคล้ายกับการกินเข้าไปเพราะสารนี้สามารถซึมผ่านผิวหนังได้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินสารนี้เข้าไป ทำให้หายใจติดขัด ปอดบวม ชีพจรเต้นถี่ขึ้น คลื่นเหียน อาเจียน ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย, และท้องร่วงภายใน 15 นาที อาการอื่นเช่น ความดันเลือดต่ำ หายใจผิดปกติ อุณหภูมิของร่างกายลดลง ค่า pH ของร่ายกายลดลง มีอาการหดเกร้งของกล้ามเนื้ออยางรุนแรง ล้มฟุบ หมดสติ และอาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสสารนี้ทางตา ก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง เจ็บปวด ทำให้การมองเห็นพล่ามัว ไม่ชัด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การได้รับสารนี้จะมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ไต และระบบเลือดหัวใจและหลอดเลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ สลายตัวเกิดการระเบิดได้ เมื่อได้รับความร้อน การสั่น ถูกกระทบกระแทกหรือการเสียดสี

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  เบนโซอิลคลอไรด์ผสมโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โบรมีน คาร์บอนไดซัลไฟด์ โครมิสคลอไรด์ (Chromyl chloride) ทองแดง ไดโบรมาโลโนไนไตร (Dibromalononitrile) ไดเมทิลซัลเฟต ตะกั่ว แบเรียมคาร์บอเนต กรดกำมะถัน น้ำ และกรดไนตริก

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อนเปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   การระเบิดจะขึ้นกับการสลายตัวของสารที่ปล่อยก๊าซไนโตรเจน (N2) และโซเดียม (Na)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   313

         สารดับเพลิง : ฉีดน้ำให้เป็นฝอย สารเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – เป็นของแข็งที่ติดไฟ จะเกิดเพลิงไหม้เมื่อได้รับความร้อน

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ : ให้สวมใส่อุปกรณ์หายใจชนิดมีถังอากาศ (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีสัมผัสผิวหนังและตา

                – ฉีดน้ำให้เป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหล่อเย็นภาชนะที่ถูกเพลิงไหม้

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้สารนี้จะทำให้เกิดก๊าซพิษออกมารวมทั้งไนโตรเจนออกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศในพื้นที่

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งความร้อน หรือแหล่งจุดติดไฟ และสารที่มีฤทธิ์เป็นกรด

                – ป้องกันภาชนะบรรจุเสียหายทางกายภาพ

                – แยกเก็บออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้จะเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่าเนื่องจากมีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง

                – ให้สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อควรระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : โซเดียมแอไซด์

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 1687

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ให้เคลื่อนย้ายของการจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้มีการระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้ทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหลเพื่อไม่ให้เกิดฝุ่นแพร่กระจายไปในอากาศ

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – ลดความเข้มข้นของฝุ่นสารในอากาศและป้องกันทำให้กระจายโดยการทำให้ชื้นด้วยการพรมกับน้ำ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุปิดมิดชิดเพื่อนำไปแปรรูปใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – ต้องรายงานการหกรั่วไหล การปนเปื้อนดิน น้ำและอากาศมากเกินกว่าที่กำหนด

        การพิจารณาการกำจัด สารนี้ไม่สามารถทำได้อย่างปลอดภัยในการนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องนำไปกำจัดตามแบบของการกำจัดของเสียอันตราย

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย นำส่งแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป กระตุ้นให้อาเจียนทันทีโดยบุคลากรทางการแพทย์ ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ เรียกแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้นำสารเคมีออกจากผิวหนังให้เร็วที่สุด ล้างผิวหน้า ด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้ารองเท้า ที่เปื้อนสารเคมีออก และทำความสะอาดก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับเปิดเปลือกตาด้านบนและด้านล่างส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : –

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – สารนี้เมื่อปนเปื้อนในจะไม่สลายตัวแต่จะซึมลงสู่ชั้นน้ำใต้ดิน สารนี้เมื่อปนเปื้อนสู่อากาศ จะสลายตัวด้วยแสงอาทิตย์ปานกลาง สารนี้จะเป็นพิษกับปลาในความเข้มข้น น้อยกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   211 , 121

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   กระดาษกรอง             

        วิธีการวิเคราะห์ :       อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – อัตราไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 2 ลิตรต่อนาที

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        41

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium fluoride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium fluoride

        ชื่อเคมีทั่วไป  Potassium fluoride anhydride

        ชื่อพ้องอื่นๆ    –

        สูตรโมเลกุล    KF

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์49

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      7789-23-3

        รหัส EC NO.  009-005-00-2

        UN/ID No.  1812

        รหัส RTECS    TT 0700000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        232-151-5

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า JT Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7789-23-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้เป็นสารในห้องปฏิบัติการ (Ladoratory Reagent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    245(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.05(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    1.05(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 1

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผงของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  58.10

        จุดเดือด(0ซ.) :  1505

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  860

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      2.48

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ 885 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.38

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.42ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้ไม่ละลายในแอลกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และระบบทางเดินหายใจเป็นแผลไหม้ มีอาการไอ เจ็บคอ หายใจติดขัด ผงฝุ่นของสารนี้อาจจะดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเข้าไป จะมีอาการคล้ายกับการกลืนหรือกินเข้าไป อาการระคายเคืองและเป็นแผลไหม้อาจจะไม่เกิดขึ้นทันที

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผิวหนังเป็นแผลไหม้ สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังได้ ผลกระทบอาจจะไม่เกิดขึ้นทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป ทำให้คลื่นไส้, อาเจียน, ท้องร่วง และปวดท้อง ทำให้อ่อนเพลีย, มีน้ำลายมาก, ผิดปกติ, การหายใจแผ่วลง, สั่น และมีอาการขั้นโคม่า ทำลายสมองและไต และอาจจะตายได้เนื่องจากการหายใจล้มเหลว

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เป็นแผลไหม้, ตาแดง, อาจทำลายตาได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : ทำลายสมอง, ไต, ระบบหัวใจ ทำให้น้ำหนักลด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  คงตัวที่สภาวะปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  Platinum plus bromine trifluoride, กรดเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ควารชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   เมื่อเผาไหม้จะเกิดไอของไฮโดรเจนฟลูออไรด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ไม่พิจารณาอันตรายที่เกิดจากไฟไหม้และการระเบิด

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดฟูม/ก๊าซพิษที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากกรดและด่าง

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Potassium fluoride

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 1812

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดการหกรั่วไหล ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจให้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจน ช่วยนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ดื่มนม เคี้ยวยาเม็ดแคลเซียมคาร์บอเนต ห้ามนำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนออก นำส่งไปพบแพทย์ทันที ทำความสะอาดเสื้อผ้าก่อนนำมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –        

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium cyanide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium cyanide

        ชื่อเคมีทั่วไป  Hydrocyanic acid, potassium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ    –

        สูตรโมเลกุล    KCN

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์47

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      151-50-8

        รหัส EC NO.  006-007-00-5

        UN/ID No.  1680

        รหัส RTECS    TS 8750000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        205-792-3

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  WWW. J.T. BAKER.COM

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                151-50-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    5 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            9.38(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.88(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    1.88(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    1.88(ppm)

        TLV-C(ppm) :     188(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : คล้ายอัลมอนด์

        นน.โมเลกุล :  65.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  1625

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   634

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      1.55

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11-12 ที่ 20 0ซ.   

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.66

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =    0.375 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนระบบทางเดินหายใจ สารนี้จะยับยั้งเซลล์ที่เกี่ยวกับการหายใจ อาจจะทำให้ระบบเลือด, ระบบประสาทส่วนกลาง และไทรอยด์ เปลี่ยน อาจจะทำให้ปวดศีรษะ, อ่อนเพลีย, เวียนศีรษะ, คลื่นไส้ และอาเจียน, หัวใจเต้นช้า, กล้ามเนื้อหดเกร็งอย่างรุนแรง, หมดสติ , โคม่า และตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน อาจจะทำให้เกิดอาการอักเสบ และผิวไหม้อย่างรุนแรง สารนี้สามารถซึมผ่านผิวหนังได้ และมีอาการคล้ายคลึงกับการสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินสารนี้เข้าไป สารนี้เป็นสารที่เป็นพิษสูง มีฤทธิ์กัดกร่อนอวัยวะที่เกี่ยวกับการย่อยอาหาร อาจจะทำให้ปาก และหลอดอาหารเป็นแผลไหม้, ปวดท้อง ถ้ากลืนกินเข้าไปในปริมาณมาก จะทำให้หมดสติทันที และตายได้ เนื่องจากระบบหายใจหยุด หรือทำงานช้าลง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสสารนี้ทางตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนอาจจะมีอาการตาแดง, เจ็บตา , การมองพร่ามัว และทำลายตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การสัมผัสเรื้อรัง การสัมผัสสารนี้เป็นเวลานานหรือบ่อย ๆ อาจจะทำให้ผิวหนังเป็นผื่นแดง และเจ็บจมูก สารนี้มีผลทำลายเลือด ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบหลอดเลือดหัวใจ ต่อมไทรอยด์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรมากในขณะที่แห้ง แต่ถ้ามีความชื้น จะสลายตัวอย่างช้า ๆ ปล่อยก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนซึ่งเป็นก๊าซพิษ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  กรดเข้มข้นและสารออกซิไดซ์ที่รุนแรง นำหรือสารอัลคาไลน์, คาร์บอนไดออกไซด์ในอาการ เมื่อทำปฏิกิริยาจะเกิดก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนด์ที่เป็นพิษ และไวไฟ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน, ความชื้น, สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ฟูม / ก๊าซไซยาไนด์ และออกไซด์ของไนโตรเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   300

         สารดับเพลิง : ใช้ผงเคมีอัลคาไลน์แห้ง และ กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ อย่าใช้คาร์บอนไดออกไซด์จะทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนด์

                – สารนี้ไม่ทำให้เกิดการระเบิด แต่เมื่อสัมผัสกับอุณหภูมิที่สูงกว่า 450 องศาเซลเซียส จะทำให้เกิดการระเบิด ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – สารนี้ลุกไหม้ติดไฟไม่ได้ แต่จะสลายตัวเมื่อสัมผัสกับกรด ให้ก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนด์ ซึ่งเป็นก๊าซพิษ และก๊าซไวไฟ

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุ

                –  กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีแบบเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – บรรจุที่ปิดผนึกแน่นสนิท

                – เก็บในที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศที่ดี ป้องกันการทำลายทางกายภาพ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ ป้องกันการทำลายทางกายภาพ

                – ผู้ทำงานควรใช้สารอย่างระมัดระวัง

                – สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่จำเป็น

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ฝุ่น ของแข็ง ) ให้สังเหตุคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – อย่าเก็บไว้ใต้ระบบหัวพ่นฉีดน้ำ

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ห้ามกินอาหาร เครื่องดื่ม หรือสูบบุหรี่ในขณะปฏิบัติงาน หรือบริเวณปฏิบัติงาน

                – การมีผู้ที่มีความรู้มาแนะนำการใช้สารไซยาไนด์

                – อย่าเก็บไว้ใกล้สารไวไฟ หรือเปลวไฟ จะทำให้เกิดเพลิงไหม้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : POTASSIUM CYANIDE

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 1680

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 1

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดการหกรั่วไหล เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณหกรั่วไหล

        – ให้บุคคลที่มีความชำนาญเคลื่อนย้ายสารหกรั่วไหล

        – ทำความสะอาดบริเวณหกรัวไหล

        – ควรสวมใส่ชุดป้องกันและอุปกรณ์ป้องกันการหายใจ

        – เก็บกวาดสารใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ

        – นำวัสดุดูดซับแล้วมาทำความสะอาดใหม่ โดยใช้โซเดียมหรือสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA)พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า(gas mask) ซึ่งมี canister ประเภทที่เหมาะสม และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย รักษาร่างกายให้อบอุ่น อย่าช่วยหายใจแบบปากต่อปาก ถ้าผู้ป่วยหมดสติให้ออกซิเจนและไนโตรเจน โดยการหายใจเข้าไป

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพื่อช่วยหายใจ ถ้าผู้ป่วยยังมีสติให้ผู้ป่วยดื่ม CHARCOAL SLURRY ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน จะช่วยให้ผู้ป่วยมีสติกลับคืนมา

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที โดยกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทำการล้าง นำส่งแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ถ้าได้รับสารไซยาไนด์ ให้ช่วยรักษาทันทีโดยให้สาร AMYL NITRILE, SODIUM NITRILE, SODIUM THIOSULFATE ปล่อยให้ผู้ป่วยหายใจเอา AMYL NITRILE เข้าไป 15-30 วินาที / นาที ทำทุก ๆ 3 นาที ถ้ามีอาการคลื่นไส้ หายใจติดขัดให้ออกซิเจน

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – สารนี้ทำลายสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตในน้ำและพืชน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – เป็นอันตรายต่อน้ำดื่ม มีความเป็นพิษสูงต่อแหล่งน้ำ เมื่อผสมกับน้ำจะก่อให้เกิดสารผสมที่มีพิษ ไม่สามารถเจือจางได้ สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำ ในผลิตภัณฑ์จากการสลายตัวที่เป็นพิษ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   6010, 7904

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   หลอดเก็บตัวอย่าง               

        วิธีการวิเคราะห์ :       สเปคโตโฟโตมิเตอร์   

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – ใช้ในการวิเคราะห์ให้ใช้ Speetrophotometry visible absorption

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 600 mg / 200 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.05 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 2ลิตร สูงสุด 90 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        42

        DOT Guide :            157

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium chromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium chromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Potassium chromate (VI)

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Chromic acid, dipotassium salt; Chromic acid (H2CrO4), dipotassium salt;

        สูตรโมเลกุล    K2Cr2O4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์46

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.      7789-00-6

        รหัส EC NO.  024-006-00-8

        UN/ID No.    3077

        รหัส RTECS    GB 2940000

        รหัส EUEINECS/ELINCS      232-140-5

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7789-00-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นสารวิเคราะห์ และทดสอบทางเคมี ( reagent ) ในห้องปฏิบัติการ           
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    18 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.0125(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.00625(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี :  เหลือง

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  194.19

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   975

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 6.7

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  69.9 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : 8.6-8.8 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   7.94

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =    0.125 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลผุพอง และลำคออักเสบ ไอ หายใจถี่ และติดขัด อาจทำให้เป็นโรคภูมิแพ้ ถ้าสัมผัสกับสารนี้ปริมาณมากจะทำให้เกิดเป็นโรคน้ำท่วมปอด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนทำให้เป็นผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และเป็นแผลไหม้อย่างรุนแรง ผงฝุ่นและสารละลายที่เข้มข้นของสารนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ถ้าสัมผัสผิวหนังที่แตกจะก่อให้เกิดการอักเสบ และดูดซึมผ่านผิวหนัง ทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกาย มีผลต่อการทำงานของไต และตับ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินสารนี้เข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้ปาก ลำคอ และท้องเป็นแผลไหม้ อาจทำให้ตายได้ ทำให้เจ็บคอ อาเจียน หมดสติ กล้ามเนื้อหดเกร็ง กระหายน้ำ ทำลายการทำงานของตับ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้มองไม่ชัด ตาแดง ปวดตาและเนื้อเยื่อเป็นแผลไหม้อย่างรนแรง ทำลายกระจกตา หรือทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง

                – สารนี้มีผลทำลายปอด เลือด ตับ ไต และทางเดินอาหาร

                – สารนี้เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพันธุ์กรรม

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารรีดิวซ์ ไฮดราซีน วัตถุที่ติดไฟได้ สารอินทรีย์ที่เผาไหม้ได้ หรือสารที่ออกซิไดซ์ได้ง่าย ( กระดาษ ไม้ กำมะถัน อลูมิเนียม หรือพลาสติก )

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ก๊าซโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   301

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิง ใช้น้ำปริมาณมาก ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุ ที่สัมผัสกับเปลวไฟ

                – สารนี้ไม่สามารถเผาไหม้ได้แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์ และเมื่อสารนี้สัมผัสกับความร้อนหรือสารที่เผาไหม้ได้ จะลุกจุดติดไฟ ขึ้น และสลายตัวให้ก๊าซ ออกซิเจนซึ่งจะเพิ่มการเผาไหม้

                – ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันและอุปกรณ์ช่วยหายใจ ชนิดที่มีถังอากาศในตัว ( SCBA )

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ไม่ควรเก็บในที่ที่เป็นพื้นไม้

                – หลังจากเคลื่อนย้ายควรทำความสะอาด ร่ายกายให้ทั่วถึง และทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Potassium chromate

                ประเภทอันตราย :  9

                หมายเลข UN : UN 3077

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บกวาด หรือดูดด้วยเครื่องดูดฝุ่น ขณะที่สารยังชื้นเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของฝุ่น

        – เก็บกวาดใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำตามปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ ให้นำส่งแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ผลกระทบทางชีวภาพ : เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :      –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium bromide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium bromide

        ชื่อเคมีทั่วไป   Bromide salt of potassium

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Bromide of potassium; Tripotassium tribromide;

        สูตรโมเลกุล    KBr

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์44

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      7758-02-3

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.    –

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-830-3

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า JT Baher, Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7758-02-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารในการวิเคราะห์สารในเทคนิค IR spectroscopy
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    3070(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึกของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  119.00

        จุดเดือด(0ซ.) :  1435

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   700

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      2.75

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ – 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  70 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   5.5-8.5 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.86

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.205 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายต่อระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีอาการไอ ลำคออักเสบและหายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง วัตถุที่แห้งจะก่อให้เกิดการระคายเคืองเล็กน้อย สารละลายจะทำให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง เจ็บปวด และผิวหนังไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไปทำให้อาเจียนออกโดยทันที มีอาการปวดท้อง มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ตา และสมอง เป็นผื่นแดง มองเห็นไม่ชัดเจน ประสาทหลอนและอาการโคม่า

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดงและปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : การสัมผัสสารติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ผิวหนังเป็นผื่น(Bromaderma) การกลืนหรือกินเข้าไปบ่อยๆเพียงเล็กน้อยจะทำให้ระบบประสาทส่วนกลางถูกกด มีอาการซึมเศร้า กล้ามเนื้อไม่ประสานงานกัน มีความผิดปกติทางจิต สูญเสียความจำ ระคายเคือง ปวดศีรษะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดส์รุนแรง โบรไมด์ไตรฟลูออไรด์,กรด

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  สารที่เข้ากันไม่ได้ ความชื้น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของส่วนประกอบโลหะ และฮาโลเจนอิสระ หรือไอออนิกฮาโลเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   200

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ทำให้เป็นอันตรายจากเพลิงไหม้และการระเบิด เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดควันพิษออกมา

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง อาจเป็นอันตรายได้(ฝุ่นของแข็ง)

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – การดูดหรือกวาดขณะชื้นสามารถใช้ได้เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

การใช้ถุงมือควรเป็นถุงมือยาง

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำ และกระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียนทันที ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติและพาไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออกซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ แล้วพาไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Phenylhydrazine

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Hydrazinobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป  Phenylhydrazine

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Phenyldiazane; Monophenylhydrazine

        สูตรโมเลกุล    C6H8N2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์40

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      100-63-0

        รหัส EC NO.  612-023-00-9

        UN/ID No.    2572

        รหัส RTECS    MW 8925000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        202-873-5

        ชื่อวงศ์   Hydrazine Derivative

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า EM SCIENCE A DIVISION OF EM INDUSTRIES

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                100-63-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตยา ทำวัตถุระเบิด และผลิตสารเติมแต่งสำหรับโพลีเมอร์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    188 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        2120 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :            15(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      5(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.1(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    10(ppm)

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของเหลว

        สี : เหลืองอ่อนใส

        กลิ่น : อะโรมาติก

        นน.โมเลกุล :  108.14

        จุดเดือด(0ซ.) :  244

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   19.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.0978

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  3.7

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  <0.1 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้เล็กน้อย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.42

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.23ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮล์ คลอโรฟอร์ม อีเธอร์และเบนซิน

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เยื่อเมือกและอาจจะทำให้ตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง สารนี้สามารถดูดซึมผ่านร่างกายได้ ในกรณีที่ผิวหนังแพ้ง่าย จะทำให้ผิวหนังอักเสบเปื่อย และพุพอง ผิวหนังซีดเป็นสีน้ำเงิน เนื่องจาก ขาดออกซิเจน, เป็นโรคดีซ่าน , ตับและระบบเลือดทำงานไม่ประสานกัน ทำลายไต

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปอาจจะทำให้ตายได้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อวัยวะเป้าหมาย: ระบบทางเดินหายใจ โลหิต ตับ ไต สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์, LEAD DIORID, LIED ( IV1 OXIDE, PORCHORYL FLUORIDE)

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน, แหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   สารประกอบคาร์บอนออกไซด์ ( COX ) , สารประกอบไนโตรเจนออกไซด์ ( NO2 )

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          88.8

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   320

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้ โฟม แอลกอฮอล์ คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมี

                – สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว เนื่องจาก ความร้อนจะเกิด ฟูม/ก๊าซ ที่มีความเป็นพิษสูงมาก

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดซ์

                – เก็บภายใต้ไนโตรเจน

                – เก็บห่างจากความร้อนและเปลวไฟ

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : PHENYLHYDRATINE

                ประเภทอันตราย :  6

                หมายเลข UN : UN 2572

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : –

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล และกั้นแยกบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องให้ออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ปิด / เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟ

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – รหัสของเสีย EPA: D002

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำ และกระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียนทันที โดยบุคคลากรทางแพทย์ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก และ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 3518

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :       สเปคโตโฟโตมิเตอร์   

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : Glass midget Bubbler

                – อัตราไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.2 ถึง 1 ลิตรต่อนาที

                – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค Visible Absorption Spectrophotometry

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        38

        DOT Guide :            153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Phenylamine

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  N-Phenylbenzenamine

        ชื่อเคมีทั่วไป  Diphenylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ    N-Phenyl Aniline; DFA; No Scald; DPA; Anilinobenzene; (phenylamino)benzene; N,N-diphenylamine; Big dipper; C.I. 10355; Scaldip; Phenylbenzenamine; Diphenylamine ;

        สูตรโมเลกุล    C12H11N

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์40

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      122-39-4

        รหัส EC NO.  612-026-00-5

        UN/ID No.    2811

        รหัส RTECS    JJ 7800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        204-539-4

        ชื่อวงศ์   เอมีน

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.t Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                122-39-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    3000 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      10(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    10(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึกของแข็ง

        สี : ขาว-เทา, ไม่มีสี หรือน้ำตาล

        กลิ่น : คล้ายดอกไม้

        นน.โมเลกุล :  169.23

        จุดเดือด(0ซ.) :  302

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   53

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 5.8

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.03 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 0.1

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.921   

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =        0.144 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้เปลี่ยนสีเมื่อถูกแสงแดด

                – สารนี้สามารถละลายได้ในเบนซีน อีเธอร์ และคาร์บอนไดซัลไฟด์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป มีอาการปวดศีรษะ ไอ คลื่นไส้ หายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้เกิดการแพ้ สารนี้อาจดูดซึมผ่านผิวหนัง ความดันโลหิตสูง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไป จะก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :

                – เป็นสารที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุ์กรรม

                – สารนี้ทำลาย ตับ ไต เลือด หัวใจ กระเพาะปัสสาวะ

                – อวัยวะเป้าหมาย เช่น ตา ผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาทส่วนกลา

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์ เฮกซคลอดรเมลามีน ไตรคลอโรเมทมีน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  แสงแดด

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของไนโตรเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          152

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  630

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   310

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : ออกไซด์ของไนโตรเจน

                – ป้องกันไม่ให้น้ำที่ใช้ดับเพลิงไหลลงสู่ดิน หรือสิ่งแวดล้อม

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากแสง

                – เก็บภาชนะบรรจุไว้ในบริเวณเก็บสารเคมี

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Diphenylamin

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 2811

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ทำความสะอาดบริเวณหกรั่วไหล เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ล้างบริเวณหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที และนำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – อาจส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ หากมีการจัดการหรือกำจัดไม่เหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   22, 78

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : bkbbler containing isopropanol

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 250 ลิตร ที่ 1 ลิตรต่อนาที

                – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค High performance liquid chromatography with UV detection

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Molybdenum (VI) oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Molybdenum (VI) oxide ; Molybdenum trioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Molybdenum oxide ; Molybdena

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Molybdic anhydride; Molybdic trioxide; Molybdenum oxide; Natural molybdite; Molybdenum anhydride; Molybdenum peroxide; Mo 1202t; Molybdic acid anhydride; Molybdena; Molybdenum Trioxide, 99.998%;

        สูตรโมเลกุล    MoO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์37

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      1313-27-5

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.    –

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์ –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  ASHLAND CHEMICAL CO.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                1313-27-5         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้นำไปใช้เป็นสารที่ใช้ในการวิเคราะห์ทดลอง และการสังเคราะห์ทางปฏิบัติทางการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    125 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      5(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  เป็นของแข็ง

        สี : สีขาว , เหลือง

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  143.94

        จุดเดือด(0ซ.) :  1155

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 795

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        4.69

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  –

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.88

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.169 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –     

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดกการะคายเคืองต่อเยื่อบุเมือกและทางเดินหายใจส่วนบน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็ง ในบัญชีรายชื่อของ NIP SARC ZLIST OSHA REG

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  น้ำ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   โลหะออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง หรือ ทราย

                – สารนี้ไม่ทำให้เกิดอันตรายจากเพลิงไหม้ และการระเบิด

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และชุดป้องกันสารเคมี

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว หรือของแข็ง อาจเป็นอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN :  ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด    

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป นำส่งไปพบแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : แจ้งต่อแพทย์ถึงโรคประจำตัวก่อนที่สารนี้จะทำอันตรายร้ายแรง โดยการแพร่กระจายสู่ผิวหนัง ปอด เช่น โรคหอบหืด

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ระบุไว้
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557