คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุมีพิษ และวัตถุติดเชื้อ

Dichloromethane

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Dichloromethane

        ชื่อเคมีทั่วไป     Methylene chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Methylene dichloride; Methane dichloride; R 30; Aerothene MM; Refrigerant 30; Freon 30; DCM; Narkotil; Solaesthin; Solmethine; ; Plastisolve; Methylene Chloride (Dichloromethane)

        สูตรโมเลกุล      CH2Cl2

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์132

        รหัส IMO            12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        75-09-2

        รหัส EC NO.    602-004-00-3

        UN/ID No.      1593            

        รหัส RTECS     PA 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-838-9

        ชื่อวงศ์                     Chlorinared hydrocarbon

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          A Division of EM Industries

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          P.O. Box 70 480 Demarat Road Dibbstown , N.J. 08027

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 75-09-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคลือบฟัน
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :        1600 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              49968/ 7 ชั่วโมง (มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     2300 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        25 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       126(ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       50(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :       50.46 (ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายอีเธอร์

        นน.โมเลกุล :   84.93

        จุดเดือด(0ซ.) :  39.8

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -97

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.326

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.9

        ความหนืด(mPa.sec) :     0.43

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  340 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  2 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.47

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.29 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

                – อุณหภูมิสลายตัว : > 120 องศาเซลเซียส

                – ละลายในอีเธอร์ แอลกอฮอล์ คลอโรฟอร์ม อะซีโตน คาร์บอนเตตระคลอไรด์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และถ้าได้รับในปริมาณมาก จะก่อให้เกิดอาการมึนงง ปวดศีรษะ ง่วงซึม หัวใจเต้นผิดปกติ หมดสติ และตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง อาจทำให้เป็นโรคมะเร็งได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร อาเจียน ถ้าหายใจเอาสารนี้เข้าไปขณะที่อาเจียน จะทำให้เป็นโรคปอดบวม และมีผลต่อร่างกาย และถ้ามีสารนี้ปริมาณมากจะมีผลต่อเลือด ตับ ไต และระบบประสาทส่วนกลาง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้อาจจะเป็นสารก่อมะเร็งจากการทดสอบในห้องปฏิบัติการ  และสารนี้ทำลายปอด ระบบประสาท ทำให้เกิดเนื้องอก

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : เบส สารออกซิไดซ์ โลหะอัลคาไลน์ อลูมิเนียม ผงแมกนีเซียม โซเดียม โปแตสเซียม และลิเธียม

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: การสัมผัสกับเปลวไฟ การเชื่อมไฟฟ้า และวัสดุผิวร้อน

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : กรดเกลือ(HCl) ก๊าซฟอสจีน คลอรีน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    640

        ค่า LEL % :     13.00  

        UEL % :        23     

        NFPA Code :    12305631_10207269193941603_1868081692_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – ขั้นตอนการดับเพลิงขั้นรุนแรง ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว(SCBA)

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิด

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะปล่อยควันพิษออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งความร้อน เปลวไฟ ประกายไฟ

                – ในระหว่างการเคลื่อนย้าย อย่าหายใจเอาไอระเหยหรือละอองเข้าไป อย่าให้เข้าตา ผิวหนัง หรือบนเสื้อผ้า

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Dichloromethane DOT

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : UN 1593

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้อพยพคนที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากพื้นที่

        – ขจัดแหล่งที่จะเกิดการจุดติดไฟใดๆจนกระทั่งพื้นที่ดังกล่างปลอดภัยจากการระเบิดหรืออันตรายจากอัคคีภัย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ควบคุมส่วนที่หกรั่วไหลและแยกออกจากแหล่งสารเคมีนั้น ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้อาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยสบู่และน้ำ

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างทันทีโดยให้น้ำไหลผ่านอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ : เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย และดิน

                สารนี้มีแนวโน้มในการสะสมทางชีวภาพต่ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1005, 3800

        OSHA NO. :    59, 80

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 2 coconut shell charcoal tubes, 100/50 mg

                – อัตราการไหลสำรหับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 0.5 ลิตร , 2.5 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :               160

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น 
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Chloroform

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Trichloromethane

        ชื่อเคมีทั่วไป     Chloroform

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Methyl trichloride; Chloroform; Refrigerant R20; Formyl trichloride; Methane trichloride; Methenyl trichloride; Trichloroform; R 20; R 20 (refrigerant); Chloroform

        สูตรโมเลกุล      CHCl3

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์129

        รหัส IMO       12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        67-66-3

        รหัส EC NO.    602-006-00-4

        UN/ID No.      1888            

        รหัส RTECS     FS 9100000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-633-8

        ชื่อวงศ์                     

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 67-66-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นตัวทำละลายสกัดสาร,เป็นตัวทำละลายสารโพลีคาร์บอเนตและสารอื่นๆ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 908 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          47702/ 4 ชั่วโมง(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    500(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        2(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       50(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :      10(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : กลิ่นอีเทอร์

        นน.โมเลกุล :   119.38

        จุดเดือด(0ซ.) :  62

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -63.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.48

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.1

        ความหนืด(mPa.sec) :   0.56

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  160 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.8 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.88

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.21 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปทำให้ร่างกายหมดความรู้สึกหรือสลบได้ทำให้ระคายเคืองต่อระบบการหายใจ และมีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลางมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ถ้าหายใจเอาสารที่ความเข้มข้นสูงเข้าไปจะทำให้หมดสติ และถึงตายได้ ทำให้ไตถูกทำลาย ความผิดปกติของระบบเลือด การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน จะทำนำไปสู่ความตายได้ ทำให้การเต้นของหัวใจผิดปกติ ตับ และไตผิดปกติ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้ระคายเคืองต่อผิวหนัง มีผื่นแดงและมีอาการเจ็บปวด ทำลายน้ำมันธรรมชาติในร่างกาย สารนี้สามารถซึมผ่านผิวหนังได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้เกิดแผลไหม้บริเวณปาก,ลำคอ ทำให้มีอาการเจ็บหน้าอก และอาเจียนได้ การกลืนเข้าไปในปริมาณมาก จะก่อให้เกิดอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไป

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารเคมีนี้จะทำให้เกิดการเจ็บปวดและระคายเคืองต่อตา ถ้าสารเคมีกระเด็นเข้าตา จะทำให้เกิดระคายเคืองอย่างรุนแรง และอาจทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อาการ: ถ้าสัมผัสไอระเหยของสารนี้เป็นระยะเวลานานหรือสัมผัสถูกสารเคมีบ่อยๆอาจจะทำให้ระบบประสาทส่วนกลาง หัวใจ ตับ และไต ถูกทำลายได้ ผลกระทบจากการสัมผัสกับของเหลวจะทำให้ไขมันถูกทำลายลง อาจจะทำให้ผิวหนังมีการระคายเคืองเรื้อรัง ทำให้ผิวหนังแห้ง และเกิดผิวหนังอักเสบได้ สารคลอโรฟอร์มนี้ถูกสงสัยว่าจะเป็นสารก่อมะเร็งต่อมนุษย์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้จะเสถียรภายใต้การใช้และการเก็บอย่างปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่มีความกัดกร่อนอย่างรุนแรงและสารเคมีที่มีความว่องไว เช่น อลูมิเนียม ผงแมกนีเซียม โซเดียม หรือ โพแทสเซียม อะซิโตน ฟูโอลีนเมทธานอล โซเดียมเมททอกไซด์ ไดไนโตรเจน เตตตอกไซด์ เทิร์ท-บิวตอกไซด์ ไตร์ไอโซพิลฟอสไฟด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: หลีกเลี่ยงแสง ความร้อน อากาศ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : เมื่อมีการสลายตัวจากความร้อน อาจก่อให้เกิดคาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนคลอไรด์ และฟลอจีน

                – อันตรายจากปฏิกิริยาโพลิเมอร์เซชั่น: ไม่เกิดอันตราย

                -เมื่อเปิดทิ้งไว้ในที่ที่มีแสง เป็นระยะเวลานานทำให้ pH ลดลง เนื่องจากการเกิดสารไฮโดรคลอลิก(HCI)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   

        ค่า LEL % :             

        UEL % :                

        NFPA Code :    200

        สารดับเพลิง : ไม่ระบุไว้

                – สารนี้ไม่ไวไฟ

                – อาจเกิดเพลิงไหม้ได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนสูง

                – สารดับเพลิง ใช้วิธีการที่เหมาะสมสำหรับการดับเพลิงโดยรอบ

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ต้านทางแสงแดด

                – เก็บในที่เย็น แห้งและมีการระบายอากาศที่ดี

                – ป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – แยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายสำหรับงานบำรุงรักษาหรือในที่ซึ่งต้องสัมผัสกับสารเคมีนี้ในปริมาณมากเกิน

                – ภาชนะบรรจุสารนี้อาจเกิดอันตรายได้เมื่อเป็นถังว่างเปล่าเนื่องจากสารเคมีที่ตกค้างทั้งไอระเหยและของเหลวให้สังเกตป้ายเตอนและข้อระมัดระวังสำหรับสารนี้ทั้งหมด

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : คลอโรฟอร์ม (Cholroform)

                ประเภทอันตราย : 6.1

                หมายเลข UN : 1888

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 4 ลิตร

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนตัวที่เหมาะสม

        – ให้กั้นแยกพื้นที่ที่มีอันตรายออก

        – ไม่จำเป็นต้องควบคุมและปกป้องบุคคลที่จะเข้าไป

        – ให้เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่ถ้าเป็นไปได้

        – เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับด้วยวัตถุเฉี่อยในการดูดซับสาร เช่น แร่หินทราย (vermiculite) ทรายแห้ง ดิน(earth)และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่นขี้เลื่อย

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ ให้มีการรายงานการหกรั่วไหลสู่ดิน น้ำ และอากาศมากเกินกว่าปริมาณที่ต้องรายงาน

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

                – แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile,Unsupported Neoprene ,Polyvinyl Chloride , Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ควรเคลื่อนย้ายออกไปอยู่ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ควรให้ออกซิเจน และนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากินหรือกลืนเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดอาเจียน ควรให้น้ำปริมาณมากๆ ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากและให้อยู่ในความดูแลของแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          สัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที และถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตาให้ล้างตาทันทีด้วน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ ขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  นำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลและควรแจ้งอาการให้แพทย์ เนื่องจากผู้ป่วยควรได้รับการรักษาภายใน 24-48 ชั่วโมง เพราะอาจจะทำให้มีผลกระทบต่อไต และตับได้ ของเหลวที่อยู่ภายในไตไม่สามารถช่วยป้องกันสารเคมีได้ ซึ่งสังเกตได้จากการนำน้ำปัสสาวะของผู้ป่วยมาวิเคราะห์และทดสอบกลูโคสที่อยู่ในเลือด เอ็กซเรย์หน้าอก และตรวจสอบสถานะของไหล/อิเล็กโตรไลท์ ไดฟัลฟิรัม ซึ่งอยู่ในเมตตาบยอลิซึม และอาหารของผู้ป่วยที่มี คาร์บอไฮเดตรสูง จะสามารถป้องกันและต่อต้านสารพิษจากคลอโฟอร์มได้ โดยที่ไม่จะเป็นต้องให้น้ำเกลือ ตรวจสอบได้จากการเพิ่มขึ้นของบิลิโรบิน

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – ข้อมูลทางนิเวศวิทยา สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

        – สารนี้คาดว่าจะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน

        – สารนี้คาดว่าจะมีการระเหยอย่างรวดเร็ว เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

        – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง (halrtife) ภายในเวลาน้อยกว่า 1-10 วัน

        – คลอโรฟอร์มจะมีลอกออกทนนอลน้อยกว่า 3 ของสัมประสิทธิ์ส่วนของน้ำ

        – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะสะสมสิ่งมีชีวิตได้เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

        – สารนี้จะสลายตัวได้ปานกลางโดยทำปฏิกิริยากับสารไฮดรอกซิล เรดิคอล ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกับแสง เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

        – สารนี้จะสลายตัวโดยการสังเคราะห์แสงได้ปานกลาง เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

        – สิ่งของนี้ถูกขนย้ายจากบรรยากาศเมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

        – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง (halrtife) ภายในเวลามากกว่า 30 วัน

        – ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม: สารนี้เป็นพิษต่อสิ่งมีชิวิตในน้ำ

        – ค่าความเข้มข้นที่ทำให้ปลาตายกว่าร้อยละ 50 LC 50ภายใน 96 ชั่วโมงมีค่ามากกว่า 1-100 มิลลิกรัมต่อลิตร

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1003

        OSHA NO. :    ไม่ระบุไว้

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :   

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100mg/ 50 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01-0.2 ลิตรต่อนาที

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          36

        DOT Guide :               151

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Benzyl chloride

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Chloromethylbenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Benzyl chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Omega-Chlorotoluene; Chlorophenylmethane; (chloromethyl)Benzene; Alpha-Chlorotoluene; Tolyl chloride; Benzyl chloride ;

        สูตรโมเลกุล      C7H7Cl

        สูตรโครงสร้าง        สไลด์123

        รหัส IMO 12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        100-44-7

        รหัส EC NO.    602-037-00-3

        UN/ID No.      1738              

        รหัส RTECS    XS 8925000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         202-853-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า SIGMA CHEMICAL CO.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 100-44-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1231 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      150ppm/ 2 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    10(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       1(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       1(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 1

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ฉุน

        นน.โมเลกุล :   126.59

        จุดเดือด(0ซ.) :  177-181

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -43ถึง-39

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.1

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.36

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.91 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.05 ที่ 30 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   5.18

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.19 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปสารนี้จะไปทำลายเยื่อเมือกอย่างรุนแรง ทำให้กล้ามเนื้อหดเกร็ง เกิดการอักเสบ และเกิดอาการบวมน้ำ ของกล่องเสียง และหลอดลมใหญ่ เกิดอาการไอหายใจถี่รัว ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เป็นโรคปอดอุดตันเนื่องจากสารเคมี

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดแผลไหม้ และสามารถทำลายเนื้อเยื่อผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นแดงและปวด

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไป จะทำให้เกิดแผลไหม้ที่ปาก ลำคอ ท้อง กล่องเสียงบวม ชัก อัมพาต

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้น้ำตาไหล ทำให้เกิดการระคายเคืองทำลายเนื้อเยื่อบุตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : เมื่อสัมผัสกับโลหะทั่วไป ยกเว้น นิเกิลและตะกั่ว หรือความชื้น จะทำให้เกิดก๊าซพิษและสารกัดกร่อนไฮโดรเจนคลอไรด์, สารออกซิไดส์, เหล็กและเกลือของเหล็ก, ทองเหลือง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : สารนี้จะสลายตัวเมื่อสัมผัสถูกความชื้น อากาศ น้ำ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์

                – เมื่อสัมผัสกับน้ำจะทำปฏิกิริยาอย่างช้า ๆ ได้ก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ และเบนซินแอลกอฮอล์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :             74

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     585

        ค่า LEL % :     1.1

        UEL % :        14     

        NFPA Code :   

         สารดับเพลิง : ให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง หรือโฟมที่เหมาะสม ห้ามใช้น้ำในการดับเพลิง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยการหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีสัมผัสผิวหนัง และตา

                – เมื่อเกิดเพลิงไหม้ทำให้เกิดควันก๊าซพิษออกมา

                – ทำปฏิกิริยากับน้ำให้เกิดก๊าซกรด เมื่อสัมผัสกับผิวโลหะ จะทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ไวไฟ และระเบิดได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

                – เก็บในที่แห้ง และเย็น มีการระบายอากาศดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งความร้อน เปลวไฟ

                – ล้างทำความสะอาดทั่วภายหลังจากการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Benzyl Chloride

                ประเภทอันตราย : 6.1

                หมายเลข UN : 1738

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่ออุบัติเหตุรั่วไหล ให้อพยพคนออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ปิดคลุมด้วยปูนขาวแห้ง ทราย หรือโซดาแอ๊ส และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และนำไปกำจัดเป็นกากของเสีย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยการหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเท้าบู๊ท และถุงมือยาง ห้ามหายใจเอาไอระเหยเข้าไป

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                      – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 10 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ และก๊าซของสารจำพวกกรด โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) พร้อม Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ และก๊าซจำพวกกรด หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     การหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัด ให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      การกินหรือกลืนเข้าไป และผู้ป่วยยังมีสติอยู่ ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ แล้วกระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้า และรองเท้าที่เปรอะเปื้อนออก

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างตาโดยทันที ด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที โดยนิ้วถ่างตาให้กว้าง ฉีดล้างจนมั่นใจว่าสารเคมีออกหมด

        อื่นๆ :

ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสียหรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1003

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด ต่ำสุด 6 ลิตร สูงสุด 50 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          41

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Aniline

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Aminobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Aniline

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Benzamine; Aniline oil, phenylamine; Aniline oil; Phenylamine; Aminophen; Kyanol; Benzidam; Blue oil; C.I. 76000; C.I. oxidation base 1; Cyanol; Krystallin; Anyvim; Arylamine; Aniline ;

        สูตรโมเลกุล      C6H7N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์119

        รหัส IMO 12305967_10207256021172292_1807016644_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.        62-53-3

        รหัส EC NO.    612-008-00-7

        UN/ID No.      1547             

        รหัส RTECS     BW 6650000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-539-3

        ชื่อวงศ์  Aromatic primary amine aniline/aminobenzene /benzeneamine

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINOFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 62-53-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเมทิลีนไดมีนิลไดโอโซไซยาเนต (MDI) และโพลีเมอริก MDI (PMPPI) และการผลิตยาง, สีย้อม, ไฮโดรคีโนน, ผลิตยาและสารเคมีทางการเกษตร ใช้ในกระบวนการผลิตไซโคลเฮกซีลามีน, พีโนลิก, สารยับยั้งการกัดกร่อน, เป็นส่วนประกอบในแลคเกอร์, ยาง, และอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ใช้เป็นสารในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 25 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          665/ 7  ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    100(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        2(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       2(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535:      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว เหมือนน้ำมัน

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เหม็น เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :   93.13

        จุดเดือด(0ซ.) :  184-184.5

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -6.03

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.022

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.22

        ความหนืด(mPa.sec) :     4.35

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.3ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  3.5

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  8.1

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.80

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.263 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

                – ละลายในเอทานอล อะซีโตน ไดเอทิลอีเธอร์ เบนซีน คลอโรฟอร์ม และตัวทำละลายอินทรีย์

                – สารนี้จะเปลี่ยนสีเมื่อสัมผัสถูกอากาศหรือแสง

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปทำให้หายใจติดขัด คลื่นไส้ อาเจียน คอแห้ง วิงเวียน อ่อนเพลีย หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดปกติ อาการโคม่า เสียชีวิต เนื่องจากหัวใจล้มเหลว

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้ดูดซึมผ่านผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปทางเดินอาหาร เป็นอันตรายต่อร่างกาย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาทำให้เกิดการระคายเคืองตา ทำให้มองไม่ชัดเจน

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :

                – สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง กลุ่ม 3 ตาม IARC. กลุ่ม A3 ตาม ACGIH

                – สารนี้ทำลายเลือด ตา ตับ ไต ระบบหายใจ และระบบประสาทส่วนกลาง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรปานกลาง เกิดการออกซิไดส์เมื่อสัมผัสอากาศและแสง

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ เช่น เปอรออกไซด์, เปอร์โครเมต, กรดไนตริก, โอโซน, กรดเปอร์คลอริก ทำให้เกิดเพลิงไหม้และการระเบิด กรด-ทำปฏิกิริยารุนแรง, ไนโตรมีเทน-เกิดการติดไฟ, เตตระไนโตรมีเทน, ไตรคลอโรไนโตรมีเทน-ทำปฏิกิริยารุนแรง, ซิลเวอร์เปอร์คลอเรต, โลหะอัลคาไลน์, โลหะอัคคาไลน์เอิร์ท-เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ไวไฟเฮกซะคลอโรเมลามีน, ไตรคลอโรเมลามีน-เกิดปฏิกิริยารุนแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : เปลวไฟและความร้อน

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เปลวไฟและความร้อน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :                       70

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     615

        ค่า LEL % :     1.3

        UEL % :         11    

        NFPA Code :   320

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์, ผงเคมีแห้ง, โฟมแอลกอฮอล์, โพลีเมอร์โฟม, น้ำฉีดเป็นฝอย

                – สารนี้ไวไฟ

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกว่า 70 องศาเซลเซียส

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : คาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ไนโตรเจนออกไซด์,

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – อพยพออกจากบริเวณเพลิงไหม้

                – การอยู่เหนือลม เพื่อป้องกันไอระเหยที่เป็นพิษและทำให้ระคายเคือง

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อลดการแพร่กระจายของฝุ่น

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด เมื่อไม่ได้ใช้งาน

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากความร้อน แหล่งจุดติดไฟ

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – ทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                – บริเวณเก็บสารเคมีควรแยกจากบริเวณทำงาน

                – ติดป้ายเตือนอันตราย

                – ติดฉลากที่ภาชนะ

                – เก็บภาชนะบรรจุไว้ในระดับความสูงที่เหมาะสมกับการเคลื่อนย้าย

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

                – การเก็บสารเคมีควรทำจากวัสดุที่ทนไฟ และไม่ใช่สารไวไฟ

                – มีอุปกรณ์ดับเพลิงหรือทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ต่อภาชนะบรรจุลงดิน

                – ติดป้ายห้ามสูบบุหรี่

                – อย่าใช้ร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ป้องกันสารเพลิงไหม้ไปในบริเวณทำงาน

                – อย่านำสารที่ใช้แล้วใส่เข้าในบริเวณภาชนะบรรจุใหม่

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Aniline

                ประเภทอันตราย : 6.1, 9.2

                หมายเลข UN : UN 1547

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : 50 kg

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – อย่าเข้าไปบริเวณสารรั่วไหลจนกว่าจะมีการทำความสะอาดเรียบร้อย

        – ทำความร้อนโดยบุคคลที่มีความชำนาญ

        – ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ดับเพลิง หรือย้ายแหล่งจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ย้ายหรือแยกสารไวไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน แร่เวอร์มิคิวไลต์ หรือวัสดุดูดซับที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมี

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไปอย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ให้ผู้ป่วยช่วยดื่มน้ำ 240-300 ml. เพื่อเจื้อจางสารในท้อง ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำ โดยให้น้ำไหลผ่าน 20 นาที หรือจนสารเคมีออกหมด

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก โดยให้น้ำไหลผ่านเป็นเวลา 20 นาที โดยใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก อย่าให้น้ำล้างตาไหลไปโดนตาที่ไม่ได้สัมผัสสาร นำส่งพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2002 , 2017

        OSHA NO. :    A95-1

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้หลอดเก็บตัวอย่าง 150 mg/75mg

                – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค Gas Chromatography ใช้ FID Detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          38

        DOT Guide :               153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Dimethylaniline

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   N,N-Dimethylaniline

        ชื่อเคมีทั่วไป     Dimethylaniline

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Dimethylaniline; Versneller NL 63/10 ; (dimethylamino)benzene; Dimethylphenylamine; N,N-dimethylphenylamine; Dimethylphylamine; DMA; Dimethylaniline, N-N- ;

        สูตรโมเลกุล      C8H11N

        สูตรโครงสร้าง  12286134_10207266927804951_857643769_n

        รหัส IMO       12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        121-69-7             

        รหัส EC NO.        612-016-00-0

        UN/ID No.      2253                  

        รหัส RTECS         BX 4725000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         204-493-5

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  ICN Biochemicals

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 121-69-7                      
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสีย้อม,ใช้ในปฏิกิริยา Alkylation
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1410 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      -/ –  ชั่วโมง (หนู)

        IDLH(ppm) :   100 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       5 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       5 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     10 (ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : เหลือง

        กลิ่น : คล้ายเอมีน

        นน.โมเลกุล :   121.2

        จุดเดือด(0ซ.) :  193 – 194

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 1-2.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.956

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.2

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ 300ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  2

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  7.4 ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.96

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.20 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สามารถละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อเกิดอันตรายปานกลาง ก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้ เวียนศีรษะ และปวดศีรษะได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และสารนี้ดูดซึมผ่านผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดพิษได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ มีความเป็นพิษมาก ทำให้ระคายเคือง เป็นสารก่อมะเร็ง อวัยวะเป้าหมาย : เลือดระบบประสาทส่วนกลาง ตับ ไต ม้าม อาการที่แสดงออกเมื่อสัมผัสกับสารนี้คือ คลื่นไส้ เวียนศีรษะ และปวดศีรษะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด กรดครอไรด์ กรดแอนไฮไดร์ สารออกซิไดซ์ คลอโรฟอร์เมท ฮาโลเจน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ฟูม ก๊าซพิษของอะนิลีน และไนดตรเจนออกไซด์ (NOx)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

 

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
        จุดวาบไฟ(0ซ.) :          62.7

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    371

        ค่า LEL % :     1

        UEL % :        7       

        NFPA Code :   

        สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง โฟม

        – สารนี้เป็นสารไวไฟ

        – ภาชนะอาจเกิดการระเบิดได้ถ้าสัมผัสถูกไฟ

        – สารนี้อาจเกิดการระเบิดขึ้นได้เมื่อสัมผัสกับเบนโซอิลเปอร์ออกไซด์ หรือไดดอโซโพรดิล เปอรอกซ์ไดคาร์บอเนท

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากความร้อน และเปลวไฟ

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – อพยพออกจากบริเวณที่หกรั่วไหล

        –  วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ใช้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทรายแห้ง ไดอะโตโพท์ แร่หินทราย (Venmiculate) หรือสารดูดซับอื่นที่แห้ง แล้วเก็บใส่ภาชนะบรรจุที่เหมาะสมเพื่อนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่นฟุ้งกระจาย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ระบายอากาศและล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : เตาเผาสารเคมีที่มีอุปกรณ์หัวเผาขั้นที่สอง และอุปกรณ์กำจัดมลพิษ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12309022_10207269202381814_1401123889_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : เลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

              – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

               –  สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 100 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

              – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ และให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อน ให้นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ดื่มน้ำ 1-2 แก้วภายใน 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากเป็นเวลานานหลายๆครั้ง นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – สารนี้สามารถเกิดการย่อยสลายทางชีวภาพได้เล็กน้อย

                –  ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2002

        OSHA NO. :    DV 2064

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ Silica gel. 150 mg/75 mg

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          38

        DOT Guide :               153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Barium chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   Barium chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป     Barium chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Barium dichloride; Ba 0108E; Barium Chloride solution, 1.0N

        สูตรโมเลกุล      Bacl2

        สูตรโครงสร้าง   12285870_10207256021012288_140747856_n

        รหัส IMO    12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.        10361-37-2

        รหัส EC NO.   056-004-00-8

        UN/ID No.      1564              

        รหัส RTECS    CQ 875000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         233-788-1

        ชื่อวงศ์  Inorganic salt

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า EM Science

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 10361-37-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 118 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :   5.87 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       0.058 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   208.24

        จุดเดือด(0ซ.) :  1560

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 960

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        3.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 60 ที่  –0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5-8 ที่ – 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  8.516

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.117 ppm ที่-25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ระดับโปแตสเซียมในโลหิตต่ำกว่าปกติ รวมทั้งมีอาการคลื่นไส้ ปวดท้อง ความดันโลหิตสูงขึ้น เจ็บคอ หายใจติดขัด และมีอาการคล้ายการกลืนหรือกินเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ถ้าสัมผัสนานๆจะทำให้ระดับของโปแตสเซียมในโลหิตลดต่ำลง รวมทั้งมีอาการคลื่นไส้ ปวดท้องเกิดผื่นแดงและปวดได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้เกิดอากาศปวดท้อง อาจทำให้เกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง เจ็บตา ท้องร่วง อาเจียน สั่น รู้สึกอ่อนเพลีย เกิดอัมพาตที่แขนและขาได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตาม IARC , NTP , OSHA และสารทำลายหัวใจ ประสาท ไต ระบบทางเดินอาหาร ไขกระดูก ม้าม ตับ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : โบรมีนไตรฟลูออไรด์(Bromine trifluoride)

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ฝุ่น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : แบเรียมออกไซด์ กรดเกลือ(HCl)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   12285741_10207269231862551_138656117_n

         สารดับเพลิง : ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – การดับเพลิงขั้นรุนแรง ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – ขณะเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดการสลายตัวทำให้เกิดฟูม/ก๊าซพิษ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บภายในห้องควบคุมอุณหภูมิ มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเอาฝุ่นของสารนี้เข้าไป อย่าให้สัมผัสถูกตาผิวหนัง หรือเสื้อผ้า

                – ล้างทำความสะอาดให้ทั่วหลังจากการเคลื่อนย้ายสารนี้

                – ติดตั้งอุปกรณ์ฉีดล้างตาฉุกเฉิน และอุปกรณ์ความปลอดภัยอื่นๆ

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ให้อพยพบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – กั้นแยกแหล่งจุดติดไฟใดๆออกจากพื้นที่หกรั่วไหลจนกระทั่งมั่นใจว่าปลอดภัยจากการเกิดอัคคีภัยและการระเบิด ถ้าทำได้อย่างปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัดที่เหมาะสม

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

        สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 5 mg/m3 : ให้ใช้หน้ากากป้องกันฝุ่นและละอองไอ ซึ่งเป็นหน้ากากแบบ quarter mask โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

        สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 12.5 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองฝุ่น และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece ซึ่งมีการทำงานของอัตราการไหลแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือพร้อม tight – fitting facepiece และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้กระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้กินเกลือเอฟซอม 1 ช้อนโต๊ะ ละลายในน้ำ 1 แก้ว ถ้าผู้ป่วยหมดสติ ห้ามนำสิ่งใดเข้าปาก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยสบู่และน้ำปริมาณมากๆ

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างออกด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้ำ 15 นาที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                – เมื่อผสมกับน้ำก่อให้เกิดอันตราย

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7056

        OSHA NO. :    121

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :         อะตอมมิกแอบซอปชั่น

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 micro meters cellulose ester membrane filter

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 ถึง 4 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด 50 ลิตร , สูงสุด 2000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :   154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557