คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุอันตรายอื่น ๆ

Potassium chromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium chromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Potassium chromate (VI)

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Chromic acid, dipotassium salt; Chromic acid (H2CrO4), dipotassium salt;

        สูตรโมเลกุล    K2Cr2O4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์46

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.      7789-00-6

        รหัส EC NO.  024-006-00-8

        UN/ID No.    3077

        รหัส RTECS    GB 2940000

        รหัส EUEINECS/ELINCS      232-140-5

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7789-00-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นสารวิเคราะห์ และทดสอบทางเคมี ( reagent ) ในห้องปฏิบัติการ           
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    18 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.0125(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.00625(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี :  เหลือง

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  194.19

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   975

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 6.7

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  69.9 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : 8.6-8.8 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   7.94

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =    0.125 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลผุพอง และลำคออักเสบ ไอ หายใจถี่ และติดขัด อาจทำให้เป็นโรคภูมิแพ้ ถ้าสัมผัสกับสารนี้ปริมาณมากจะทำให้เกิดเป็นโรคน้ำท่วมปอด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนทำให้เป็นผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และเป็นแผลไหม้อย่างรุนแรง ผงฝุ่นและสารละลายที่เข้มข้นของสารนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ถ้าสัมผัสผิวหนังที่แตกจะก่อให้เกิดการอักเสบ และดูดซึมผ่านผิวหนัง ทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกาย มีผลต่อการทำงานของไต และตับ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินสารนี้เข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้ปาก ลำคอ และท้องเป็นแผลไหม้ อาจทำให้ตายได้ ทำให้เจ็บคอ อาเจียน หมดสติ กล้ามเนื้อหดเกร็ง กระหายน้ำ ทำลายการทำงานของตับ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้มองไม่ชัด ตาแดง ปวดตาและเนื้อเยื่อเป็นแผลไหม้อย่างรนแรง ทำลายกระจกตา หรือทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง

                – สารนี้มีผลทำลายปอด เลือด ตับ ไต และทางเดินอาหาร

                – สารนี้เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพันธุ์กรรม

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารรีดิวซ์ ไฮดราซีน วัตถุที่ติดไฟได้ สารอินทรีย์ที่เผาไหม้ได้ หรือสารที่ออกซิไดซ์ได้ง่าย ( กระดาษ ไม้ กำมะถัน อลูมิเนียม หรือพลาสติก )

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ก๊าซโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   301

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิง ใช้น้ำปริมาณมาก ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุ ที่สัมผัสกับเปลวไฟ

                – สารนี้ไม่สามารถเผาไหม้ได้แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์ และเมื่อสารนี้สัมผัสกับความร้อนหรือสารที่เผาไหม้ได้ จะลุกจุดติดไฟ ขึ้น และสลายตัวให้ก๊าซ ออกซิเจนซึ่งจะเพิ่มการเผาไหม้

                – ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันและอุปกรณ์ช่วยหายใจ ชนิดที่มีถังอากาศในตัว ( SCBA )

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ไม่ควรเก็บในที่ที่เป็นพื้นไม้

                – หลังจากเคลื่อนย้ายควรทำความสะอาด ร่ายกายให้ทั่วถึง และทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Potassium chromate

                ประเภทอันตราย :  9

                หมายเลข UN : UN 3077

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บกวาด หรือดูดด้วยเครื่องดูดฝุ่น ขณะที่สารยังชื้นเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของฝุ่น

        – เก็บกวาดใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำตามปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ ให้นำส่งแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ผลกระทบทางชีวภาพ : เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :      –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Cuprous oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Copper (I) oxide

        ชื่อเคมีทั่วไป    Cuprous oxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Red copper oxide; Brown copper oxide; Copper (I) oxide; C.I. 77402; Perenex; Yellow cuprocide; Copper-Sandoz; Caocobre; Cuprite; Copper oxide; Copox; Copper hemioxide; Copper nordox; Copper oxide (Cu2O); Copper protoxide; Copper suboxide; Cuprocide; Dicopper monoxide; Dicopper oxide; Fungi-rhap CU-75; Fungimar; Kuprite; Nordox; Nordox SD-45; Oleo nordox; Oleo nordox perecot; Oleocuivre; Perecot; Perenox; Copper Oxide (cuprous, red);

        สูตรโมเลกุล      Cu2O

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์28

        รหัส IMO     12286089_10207247452278075_1668521281_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.        1317-39-1

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.      –          

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        –

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  J.T. BAKER INC.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1317-39-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารในห้องปฏิบัติการ          
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 470 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผงของแข็ง

        สี : สีแดง-น้ำตาล

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :  143.09

        จุดเดือด(0ซ.) :  1800

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 1232

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        6.00

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้เล็กน้อย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.85

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.17 ppm ที่  25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สลายตัวที่อุณหภูมิ 1800 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้เป็นอันตรายต่อระบบหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป อาจเป็นอันตรายแก่ร่างกายได้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดง เจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชีรายชื่อของ NTP, IARC

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย ภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่พบข้อมูล

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อากาศ ความชื้น ความร้อน

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : สารพวกออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากพื้นที่ที่เกิดเพลิงไหม้ถ้าสามารถทำได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บภาชนะบรรจุในที่ไม่ถูกแสงแดด

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากความร้อนภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ฝุ่น ของแข็ง ) ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ใช้พลั่วที่สะอาดตักสารนี้อย่างระมัดระวังใส่ในภาชนะบรรจุที่สะอาด แห้ง มิดชิดและเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป กระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียนทันที โดยบุคลากรทางการแพทย์ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิดหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำประมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงน้ำ แหล่งน้ำ ดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :    –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          –

        DOT Guide :              –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Biphenyl

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Phenylbenzene ; 1,1′-Diphenyl

        ชื่อเคมีทั่วไป    Biphenyl

        ชื่อพ้องอื่นๆ      1,1′-Biphenyl ; Bibenzene; Lemonene; Phenador-x; PHPH; Xenene; Diphenyl; Biphenyl, 1,1- ;

        สูตรโมเลกุล      C12H10

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์21

        รหัส IMO     12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.        92-52-4

        รหัส EC NO.  601-042-00-8

        UN/ID No.      3077             

        รหัส RTECS    DU 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        202-163-5

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  J.T. BAKER

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 92-52-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ เป็นยาฆ่าเชื่อรา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 2400 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :  15.85 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.2 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.2 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง  0.158 ระยะสั้น : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผลึกของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :  154.21

        จุดเดือด(0ซ.) :  254-255

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 69-70

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        –

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    5.31

        ความหนืด(mPa.sec) :  1.48

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.005 ที่ 20.4 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ ที่  20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.307

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.158 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเอาไอระเหยเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อในจมูก และทางเดินหายใจ รวมทั้งอาการอื่นๆ คล้ายกับการกลืนกินเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการระคายเคืองอาจจะถูกดูดซึมผ่านทางผิวหนังทำให้เกิดอาการคล้ายกับการกลืนกินเข้าไป จะทำให้เกิดภูมิแพ้ในบางคน

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไป จะมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางและตับ รวมถึงอาการปวดศีรษะ เจ็บ ปวดกระเพาะอาหารและลำไส้ คลื่นไส้ หมดความรู้สึกเฉพาะทาง ปวดตามลำตัว และเมื่อยล้าทั่วไป

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา ไอระเหยและฝุ่น จะทำให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรงต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ถูกจัดว่าไม่เป็นสารก่อมะเร็งต่อมนุษย์กลุ่ม DI ของ EPA และ IRIS การสัมผัสกับสารเป็นระยะเวลานาน จะทำให้ปลายประสาทถูกทำลายอาจทำให้ตับถูกทำลายได้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ การเกิดฝุ่น และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์ จะเกิดขึ้นเมื่อถูกความร้อนทำให้สลายตัว  

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          113

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) : 540

        ค่า LEL % :   0.6

        UEL % :      5.8       

        NFPA Code :   12305631_10207269193941603_1868081692_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผลเคมีแห้ง แอลกอฮอล์ หรือคาร์บอนไดออกไซด์

                – น้ำหรือโฟมจะก่อให้เกิดเป็นฟอง

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

                – ส่วนผสมระหว่างไอระเหยกับอากาศสามารถระเบิดได้ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                – ความเข้มข้นเพียงพอของฝุ่นละเอียดที่แพร่กระจายในอากาศ และมีแหล่งจุดติดไฟเข้าไปทำให้เกิดการระเบิดจากฝุ่นได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – มีการระบายอากาศในพื้นที่

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บแยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้อาจจะเป็นอันตรายเมื่อถังเปล่าเนื่องจากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง

                – สังเกตคำเตือนทั้งหมด และข้อระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไดฟีนิว (Diphenyl)

                ประเภทอันตราย : 9

                หมายเลข UN : 3077

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                 ข้อมูลที่ต้องรายงานสำหรับผลิตภัณฑ์/ขนาด : 1 กิโลกรัม

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ให้เคลื่อนย้ายของจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – จัดให้มีการระบายอากาศในบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหลไม่ให้ฝุ่นแพร่กระจายไปในอากาศ

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – ลดฝุ่นในบรรยากาศและป้องกันการทำให้ฟุ้งกระจายโดยการทำให้ชื้นด้วยน้ำ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุปิดมิดชิด เพื่อนำไปแปรรูปกลับมาใช้ใหม่

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 80 mg/m3: ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) และอุปกรณ์กรองอนุภาค และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

        – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) และอุปกรณ์กรองฝุ่น และอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 mg/m3: ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า(gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ และกรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece และCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 100 mg/m3: ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปกระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่ที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ทำความสะอาดเสื้อผ้า รองเท้าที่เปรอะเปื้อนก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที โดยกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทำการล้าง นำส่งแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2530

        OSHA NO. :    –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : Tenax Gc 20 mg/10mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01 ถึง 0.5 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 15 ลิตร สูงสุด 30 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          

        DOT Guide :             –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Ammonium fluoride

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Ammonium fluoride

        ชื่อเคมีทั่วไป    –

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Neutral ammonium fluoride

        สูตรโมเลกุล      FH4N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์12

        รหัส IMO        12283340_10207256009451999_60499863_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.    12125-01-8     

        รหัส EC NO.    009-006-00-8

        UN/ID No.      2505              

        รหัส RTECS    BQ 6300000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        235-185-9

        ชื่อวงศ์        Inorgonic Salf

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       EM SCIENCE

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 12125-01-8              
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารสำหรับการแยกสารไนโอเนียม         
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    31 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         2.5 (ppm)        

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         2.5 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง   :   สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  37.04

        จุดเดือด(0ซ.) : –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    –

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.015

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    6 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   1.52

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.66 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : ถ้าหายใจเข้าไป จะรบกวนการเต้นของหัวใจ อาจทำให้เสียชีวิต

        สัมผัสทางผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้แสบไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป จะเป็นพิษที่กระเพาะอาหารและลำไส้ มีอาการของกระดูกเนื่องมาจากฟลูออรีน อาการชัก หลอดเลือดผิดปกติ อาจทำให้เสียชีวิต

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ทำให้แสบไหม้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็ง ตามบัญชีรายชื่อของ IARC, NTP, OSHA

                – สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด, CIF3

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: อุณหภูมิสูง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ฟลูออไรด์, แอมโมเนีย, ไนโตรเจนออกไซด์ (NOX)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    –

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกัน

                – การสลายตัวเนื่องจากความร้อนจะทำให้เกิดฟูม / ก๊าซพิษออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – อย่าหายใจเอาฝุ่นหรือไอระเหยของสารเข้าไป

                – อย่าให้สัมผัสถูกตา, ผิวหนัง หรือเสื้อผ้า

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

         – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

         – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

         – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ระบุไว้
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –  

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  เมื่อรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ จะเป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 39

        DOT Guide :   154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Aniline

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Aminobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Aniline

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Benzamine; Aniline oil, phenylamine; Aniline oil; Phenylamine; Aminophen; Kyanol; Benzidam; Blue oil; C.I. 76000; C.I. oxidation base 1; Cyanol; Krystallin; Anyvim; Arylamine; Aniline ;

        สูตรโมเลกุล      C6H7N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์119

        รหัส IMO 12305967_10207256021172292_1807016644_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.        62-53-3

        รหัส EC NO.    612-008-00-7

        UN/ID No.      1547             

        รหัส RTECS     BW 6650000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-539-3

        ชื่อวงศ์  Aromatic primary amine aniline/aminobenzene /benzeneamine

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINOFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 62-53-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเมทิลีนไดมีนิลไดโอโซไซยาเนต (MDI) และโพลีเมอริก MDI (PMPPI) และการผลิตยาง, สีย้อม, ไฮโดรคีโนน, ผลิตยาและสารเคมีทางการเกษตร ใช้ในกระบวนการผลิตไซโคลเฮกซีลามีน, พีโนลิก, สารยับยั้งการกัดกร่อน, เป็นส่วนประกอบในแลคเกอร์, ยาง, และอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ใช้เป็นสารในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 25 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          665/ 7  ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    100(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        2(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       2(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535:      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว เหมือนน้ำมัน

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เหม็น เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :   93.13

        จุดเดือด(0ซ.) :  184-184.5

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -6.03

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.022

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.22

        ความหนืด(mPa.sec) :     4.35

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.3ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  3.5

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  8.1

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.80

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.263 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

                – ละลายในเอทานอล อะซีโตน ไดเอทิลอีเธอร์ เบนซีน คลอโรฟอร์ม และตัวทำละลายอินทรีย์

                – สารนี้จะเปลี่ยนสีเมื่อสัมผัสถูกอากาศหรือแสง

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปทำให้หายใจติดขัด คลื่นไส้ อาเจียน คอแห้ง วิงเวียน อ่อนเพลีย หัวใจเต้นช้า หัวใจเต้นผิดปกติ อาการโคม่า เสียชีวิต เนื่องจากหัวใจล้มเหลว

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้ดูดซึมผ่านผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปทางเดินอาหาร เป็นอันตรายต่อร่างกาย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาทำให้เกิดการระคายเคืองตา ทำให้มองไม่ชัดเจน

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :

                – สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง กลุ่ม 3 ตาม IARC. กลุ่ม A3 ตาม ACGIH

                – สารนี้ทำลายเลือด ตา ตับ ไต ระบบหายใจ และระบบประสาทส่วนกลาง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรปานกลาง เกิดการออกซิไดส์เมื่อสัมผัสอากาศและแสง

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ เช่น เปอรออกไซด์, เปอร์โครเมต, กรดไนตริก, โอโซน, กรดเปอร์คลอริก ทำให้เกิดเพลิงไหม้และการระเบิด กรด-ทำปฏิกิริยารุนแรง, ไนโตรมีเทน-เกิดการติดไฟ, เตตระไนโตรมีเทน, ไตรคลอโรไนโตรมีเทน-ทำปฏิกิริยารุนแรง, ซิลเวอร์เปอร์คลอเรต, โลหะอัลคาไลน์, โลหะอัคคาไลน์เอิร์ท-เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ไวไฟเฮกซะคลอโรเมลามีน, ไตรคลอโรเมลามีน-เกิดปฏิกิริยารุนแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : เปลวไฟและความร้อน

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เปลวไฟและความร้อน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :                       70

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     615

        ค่า LEL % :     1.3

        UEL % :         11    

        NFPA Code :   320

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์, ผงเคมีแห้ง, โฟมแอลกอฮอล์, โพลีเมอร์โฟม, น้ำฉีดเป็นฝอย

                – สารนี้ไวไฟ

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิด ที่อุณหภูมิสูงกว่า 70 องศาเซลเซียส

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : คาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ไนโตรเจนออกไซด์,

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – อพยพออกจากบริเวณเพลิงไหม้

                – การอยู่เหนือลม เพื่อป้องกันไอระเหยที่เป็นพิษและทำให้ระคายเคือง

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อลดการแพร่กระจายของฝุ่น

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด เมื่อไม่ได้ใช้งาน

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากความร้อน แหล่งจุดติดไฟ

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – ทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                – บริเวณเก็บสารเคมีควรแยกจากบริเวณทำงาน

                – ติดป้ายเตือนอันตราย

                – ติดฉลากที่ภาชนะ

                – เก็บภาชนะบรรจุไว้ในระดับความสูงที่เหมาะสมกับการเคลื่อนย้าย

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

                – การเก็บสารเคมีควรทำจากวัสดุที่ทนไฟ และไม่ใช่สารไวไฟ

                – มีอุปกรณ์ดับเพลิงหรือทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ต่อภาชนะบรรจุลงดิน

                – ติดป้ายห้ามสูบบุหรี่

                – อย่าใช้ร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ป้องกันสารเพลิงไหม้ไปในบริเวณทำงาน

                – อย่านำสารที่ใช้แล้วใส่เข้าในบริเวณภาชนะบรรจุใหม่

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Aniline

                ประเภทอันตราย : 6.1, 9.2

                หมายเลข UN : UN 1547

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : 50 kg

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – อย่าเข้าไปบริเวณสารรั่วไหลจนกว่าจะมีการทำความสะอาดเรียบร้อย

        – ทำความร้อนโดยบุคคลที่มีความชำนาญ

        – ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ดับเพลิง หรือย้ายแหล่งจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ย้ายหรือแยกสารไวไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน แร่เวอร์มิคิวไลต์ หรือวัสดุดูดซับที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมี

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไปอย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ให้ผู้ป่วยช่วยดื่มน้ำ 240-300 ml. เพื่อเจื้อจางสารในท้อง ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำ โดยให้น้ำไหลผ่าน 20 นาที หรือจนสารเคมีออกหมด

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก โดยให้น้ำไหลผ่านเป็นเวลา 20 นาที โดยใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก อย่าให้น้ำล้างตาไหลไปโดนตาที่ไม่ได้สัมผัสสาร นำส่งพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2002 , 2017

        OSHA NO. :    A95-1

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้หลอดเก็บตัวอย่าง 150 mg/75mg

                – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค Gas Chromatography ใช้ FID Detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          38

        DOT Guide :               153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Xylene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Dimethylbenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Xylene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Xylol; Xylene; Dimethylbenzene (mixed isomers); Xylene (mixed isomers); Xylenes mixed isomers; Xylenes (o-, m-, p-isomers); Dimethylbenzenes; Xylene mixture (60% m-xylene, 9% o-xylene, 14% p-xylene, 17% ethylbenzene); Xylene (mixed); Xylene (o-, m-, p-isomers); Except p-xylene, mixed or all isomers; Xylene, mixed or all isomers, except p-; M & p-xylene; Xylenes (mixed); Xylene mixture (m-xylene, o-xylene, p-xylene); Total xylenes; M-,p-,o-Xylene; O-,m-,p-Xylene; Xylene, (total); Xylene mixture; Socal aquatic solvent 3501; Xylenes ; Xylene (o-,m-,p-);

        สูตรโมเลกุล      C24H30

        สูตรโครงสร้าง    12312225_10207268088913978_1627777218_n

        รหัส IMO12286089_10207247452278075_1668521281_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

         CAS No.        1330-20-7

        รหัส EC NO.    601-022-00-9

        UN/ID No.      1307              

        รหัส RTECS    ZE 2100000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         215-535-7

        ชื่อวงศ์                   Aromatic Solvent

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        Champion Technologies,LTD

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ        6555-30th Street South East Calgary Alberta Canada T2C 1R4

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:
        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1330-20-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็น Solvent
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4000 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              21700/ 4  ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          100 (ppm)    

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         100 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    150 (ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส

        กลิ่น : กลิ่นหอมหวาน

        นน.โมเลกุล :   106.16

        จุดเดือด(0ซ.) : 138.3

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 30

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.87

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.7

        ความหนืด(mPa.sec) :       0.62 – 0.81

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    6.72 ที่ 210ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.13

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   4.34

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.23 ppm ที่  250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และหายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เกิดแผลแสบไหม้ และทำให้ผิวหนังอักเสบ

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป เป็นอันตรายต่อร่างกาย ทำให้มีการขับของน้ำลายออกมามาก มีเหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดท้อง และเบื่ออาหาร

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองและเกิดแผลไหม้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็ง และสารนี้ทำลายประสาท เลือด ดวงตา หู ตับ ไต และเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความคงตัว

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           26.1

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    527

        ค่า LEL % :     1

        UEL % :        7

        NFPA Code :    12308909_10207269235702647_884726687_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำฉีดเป็นฝอย หรือโฟม

 

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ อาจลุกติดไฟได้เมื่อสัมผัสกับความร้อน, ประกายไฟ หรือเปลวไฟ

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – ไอระเหยของสารนี้อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดได้ทั้งภายในบริเวณอาคาร, ภายนอก หรือในท่อระบบระบายน้ำ

        v        – การไหลของสารไปในท่อระบายน้ำอาจก่อให้เกิดอันตรายจากไฟไหม้และการระเบิดได้

                – ให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

                – ให้ใช้การฉีดน้ำเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้ จนกระทั่งไฟดับสนิท

                – ให้อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุสาร

                – สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากแหล่งจุดติดไฟทั้งหมด

                – เก็บห่างจากเด็ก

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Xylene

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : 1307

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไม่ติดไฟ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n 

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

        แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับ ดีมากและแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ,Polyvinyl Chloride , Natural Rubber,Neoprene/Natural Rubber Blend

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้อาเจียน นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ระบุไว้
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. : 

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 16

        DOT Guide :   130

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

าตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

2-Naphthol

ส่วนที่ 1:  ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
          ชื่อเคมี IUPAC   2-Naphthol

         ชื่อเคมีทั่วไป     Beta-Naphthol

         ชื่อพ้องอื่นๆ      Isonaphthol; Beta-hydroxynaphthalene; 2-Hydroxynaphthalene; 2-Naphthalenol; Hydroxynaphthalene; Naphthalenol; Naphthyl alcohol; Naphthyl hydroxide

         สูตรโมเลกุล      C10H7OH

         สูตรโครงสร้าง     12270513_10207247643482855_898389670_n

         รหัส IMO        12309051_10207268096954179_1768263646_n

         CAS No.        135-19-3

         รหัส EC NO.    604-007-00-5

         UN/ID No.      –                   

         รหัส RTECS    QL 2975000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         205-182-7

         ชื่อวงศ์                               Phenols

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           JT Baker Inc.

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ          222 Red School Lane, Phillipsburg New Jersey U.S.A. 08865

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          135-19-3          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ (Laboratory reagent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1960 (มก./กกใ)

         LC50(มก./ม3) :      >770/1 (มก./ม3)

         IDLH(ppm) :    –

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       –

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      –          

         TLV-STEL(ppm) :     –

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
          สถานะ : ของแข็ง

         สี : ผงสีขาวขุ่น

         กลิ่น : กลิ่นฟินอลิค

         นน.โมเลกุล :   144.17

         จุดเดือด(0ซ.) :  285

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 123

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.22

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.97

         ความหนืด(mPa.sec) :    –

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  10  ที่  145 0ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 0.1% ที่  200ซ.

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   –

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    5.89

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.169 ppm ที่ 25 0ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   สารนี้สามารถละลายได้ในเอทานอล, อีเธอร์ และคลอโรฟอร์ม

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจส่วนบน

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังทำให้เกิดการระคายเคือง

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไป จะทำให้เกิดปวดศีรษะ อาเจียน เวียนศีรษะ ระคายเคืองต่อหลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคืองตาแดง เจ็บตา

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ผลกระทบของการสัมผัสสารเรื้อรัง มีอวัยวะเป้าหมายคือ ทำลายตา

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง ฟีนอล (Phenol) เบสแก่ กรดคลอไรด์ กรดแอนไฮดราย

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : แสง ความร้อน เปลวไฟและแหล่งจุดติดไฟอื่น ๆ

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            160

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

         ค่า LEL % :    

         UEL % :       

         NFPA Code :   12312264_10207269073538593_1766735825_n

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิงให้ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับประเภทของเพลิงโดยรอบ

        – ฝุ่นของสารนี้สามารถทำให้เกิดส่วนผสมที่สามารถระเบิดได้

        – เมื่อเกิดเพลิงไหม้ทำให้ก๊าซพิษของคาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

         สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากแสงแดด และเก็บในภาชนะที่ป้องกันแสงได้

                – หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกตา ผิวหนัง เสื้อผ้าและหายใจเข้าไป

                – ล้างทำความสะอาดให้ทั่วภายหลังจากการเคลื่อนย้าย

                – เก็บในบริเวณที่เหมาะสมสำหรับการเก็บสารเคมีทั่วไป

         ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ขั้นตอนในการปฏิบัติในเหตุการณ์หกรั่วไหลหรือการปล่อยออกมาให้สวมใส่ชุดป้องกันอันตรายให้เหมาะสม

        – เก็บกวาดอย่างระมัดระวังและขนย้ายออกไป

        – กำจัดตามกฎระเบียบของทางราชการ

        – หลีกเลี่ยงการทำให้ฝุ่นฟุ้งกระจาย

         การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ทำการผายปอด หากหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้กระตุ้นให้อาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                        – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                        – ความสามารถในการย่อยสลาย : สามารถกำจัดได้อย่างง่ายดาย

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. : 

         OSHA NO. :   

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

         วิธีการวิเคราะห์ :         

         ข้อมูลอื่น ๆ : 

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :         

         DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557