คลังเก็บหมวดหมู่: อาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Ammonium hydroxide

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Ammonium hydroxide

        ชื่อเคมีทั่วไป     Ammonium hydroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Aqua ammonia; Ammonia Water; Ammonium, aqueous; Ammonia, monohydrate; Aqueous Ammonia; Ammonia-15N; Ammonium Hydroxide, Redistilled;

        สูตรโมเลกุล      NH4OH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์117

        รหัส IMO  12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        1336-21-6

        รหัส EC NO.    007-001-00-5

        UN/ID No.      2672              

        รหัส RTECS    BQ 9625000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         215-647-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T. Baker INC

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1336-21-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 350 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        2860/4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       50(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      25(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      35(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   35.05

        จุดเดือด(0ซ.) :  36

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -72

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.9

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :    –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  115ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11.6

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.43

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.70 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ หารหายใจหาสารทีความเข้มข้นสูง เข้าไปจะก่อให้เกิดแผลไหม้ น้ำท่วมปอดและอาจตายได้ ความเข้มข้นที่อาจทำให้ตายได้คือ 5000 ppm

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองและเกิดแผลไหม้ได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร และอาจทำให้เยื่อบุช่องท้องทะลุหรืออักเสบ ทำให้เกิดอาการปวดในปาก , อก , ท้อง , เกิดอาการไอ , อาเจียน และหมดสติได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง จะทำให้เกิดอาการปวดตา , เกิดการทำลายตา และอาจทำให้ตาบอด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

                – สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก ตับ ไต กระเพาะปัสสาวะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด , อะโคลิน , ไดเมทิลซัลเฟต , ฮาโลเจน , ซิลเวอร์ไนเตรท , โพไพลีนออกไซด์ , ไนโตรมีเทน , ซิลเวอร์ออกไซด์ , เงิน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน แสงแดด สารที่เข้ากันไม่ได้ และแหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหม้จะทำให้เกิดแอมโมเนียและไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   615

        ค่า LEL % :     16

        UEL % :        25     

        NFPA Code :   310

         สารดับเพลิง : ไม่ระบุไว้

                – ไอระเหยของสารสามารถเกิดการสะสมในบริเวณที่เป็นสถานที่รับอากาศได้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้ และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหล หรือไอระเยหที่ยังไม่ติดไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก NIOSH พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ และเก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส และหลีกเลียงการสัมผัสกับแสงโดยตรง

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ไอระเหย , ของเหลว )

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Ammonia Solution

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : UN 2672

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้ระบายอากาศบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม และกันบุคคลที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหล หรือของเหลวเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ถ้าสามารถทำได้

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่น ๆ

        – ให้ทำการเจือจางส่วนที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ หรือทำให้เป็นกลางโดยกรด เช่น อะซีติก , ไฮโดรคลอริก , ซัลฟูริก

        – ให้ดูดซับด้วยดินเหนียว , แร่หินทราย หรือสารที่เฉื่อย และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

                 แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 250 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 240 นาที และให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :    การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการละลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สารนี้มีพิษต่อสิ่งแวดล้อม ชีวิตสัตว์ และพืชน้ำ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Zinc sulfate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Zinc sulfate

        ชื่อเคมีทั่วไป     Zinc Vitiol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Zinkosite; Bufopto Zinc Sulfate; Op-Thal-Zin; White; Vitriol; Sulfuric acid, Zinc salt (1:1); Sulfuric acid, zinc salt;

        สูตรโมเลกุล      ZnSO4

        สูตรโครงสร้าง   12305727_10207268300639271_231076561_n

        รหัส IMO

        CAS No.        7733-02-0

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      –                   

        รหัส RTECS    ZH 5260000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         –

        ชื่อวงศ์                  

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        Material Safety Data Sheet

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ        –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7733-02-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ , ผลิตภัณฑ์ควบคุมอาหาร , อาหารสัตว์ , สีย้อม , สารถนอมอาหาร และสารเคมีที่ใช้ในการวิเคราะห์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    1891 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          –    

        PEL-STEL(ppm) :        –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        –

        TLV-STEL(ppm) :         –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : ไม่มีสีถึงเขียวอ่อน

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   287.5

        จุดเดือด(0ซ.) :

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 500

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) : 166

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   11.75

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.085 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก ลำคอ และทางเดินหายใจ ทำให้เกิดอาการไอ แน่นหน้าอก เจ็บคอ หายใจติดขัด และหายใจถี่รัว อาจทำให้เกิดปอดบวมและเสียชีวิตได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคือง เกิดผื่นแดง และปวดได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดอาการท้องร่วง ปวดท้องและอาเจียนได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตาในระดับปานกลาง ทำให้ตาแดง ปวดตา และทำให้การมองเห็นไม่ชัดเจนได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งอาการปอดบวม อาจจะไม่แสดงอาการในทันที อาจเกิดอาการขึ้นภายหลังรับสารเป็นระยะเวลา 2-3 ชั่วโมง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้จะเสถียรภายใต้การใช้งานปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด และเบสเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ซิงค์ออกไซด์ ออกไซด์ของซัลเฟอร์และน้ำ

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    

         สารดับเพลิง : ให้เลือกใช้วิธีที่เหมาะสมสำหรับสภาพของเพลิงโดยรอบ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีชนิดปิดคลุมเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิท

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากความร้อนสูง การสัมผัสกับเปลวไฟ การสัมผัสกับน้ำและกรด

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีชนิดปิดคลุมเต็มตัว และอุปกรณ์ช่วยหายใจ

        – ให้ทำการเก็บและทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหล และใช้น้ำฉีดล้างทำความสะอาดบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารรั่วไหลลงสู่ท่อระบายน้ำหรือแหล่งน้ำ

        – การกำจัด สารนี้อาจถูกกำจัดโดยการเผาหรือฝังกลบตามความเหมาะสม

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วยให้นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป หากเกิดอาการรุนแรงให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่ ปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าที่เปรอะเปื้อนออก นำส่งไปพบแพทย์ ทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที โดยเปิดเปลือกตาให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :   

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม
มาตรา14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. : 

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium thiosulphate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Sodium thiosulphats pentahydrate

        ชื่อเคมีทั่วไป     Sodium thiosulphate sodium hyposulphite

        ชื่อพ้องอื่นๆ      –

        สูตรโมเลกุล      Na2S2O3.5H2O

        สูตรโครงสร้าง   12309283_10207267946470417_2017894401_n

        รหัส IMO        –

        CAS No.        10102-17-7

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      –                   

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-867-5

        ชื่อวงศ์                  

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        CALENDON LABORATORIES LTD.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ         –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 10102-17-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    5600 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          –     

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         –

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   248.18

        จุดเดือด(0ซ.) :

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 40-45

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.729

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  –

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    5.5-7.5

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   10.15

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.09ppm ที่  250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : สารนี้สามารถสลายตัวเมื่อให้ความร้อน

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเอาไอของสารเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองบริเวณจมูกและทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้ระคายเคืองต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินสารเข้าไป จะทำให้ระคายเคืองทางเดินอาการ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้ระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่ระบุไว้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : โดยปกติจะเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : NaNO2 , ไอโอดีน , กรด , สารออกซิไดส์ , ตะกั่ว , ปรอท , เงิน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ซัลเฟอร์ออกไซด์ (SOx)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    

         สารดับเพลิง : ให้ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพการเกิดเพลิงไหม้โดยรอบ

                – สารนี้เป็นสารไม่ไวไฟ

                – สารเคมีอันตรายเกิดจากการเผาไหม้ : ซัลเฟอร์ออกไซด์ (SOx)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากแสงแดด

                – ปิดฉลากบนภาชนะบรรจุ

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเข้าไป การสัมผัสถูกผิวหนัง และเสื้อผ้า

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกายให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ให้เก็บสารใส่ภาชนะและเก็บไว้เพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารที่หกด้วยน้ำ

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจน ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินสารเข้าไป ห้ามนำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ หรือมีอาการชัก ถ้าผู้ป่วยยังมีสติ ให้ล้างปาก อย่าทำให้อาเจียน ให้ดื่มน้ำ 200-400 มิลลิลิตร เพื่อเจือจางสาร นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ถอดเสื้อผ้าออกล้างสารออกจากผิวหนังด้วยสบู่และน้ำเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที หากยังมีอาการระคายเคืองอยู่ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างด้วยน้ำสะอาดปริมาณมากๆ เป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที เปิดเปลือกตาขึ้นขณะที่ล้าง หากยังมีอาการระคายเคืองอยู่นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. : 

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium iodide

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Potassium iodide

        ชื่อเคมีทั่วไป     Hydroiodic acid, potassium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ      PIMA; SSK; KI; Iodide of potash;

        สูตรโมเลกุล      KI

        สูตรโครงสร้าง   12283286_10207267080288763_894315275_n

        รหัส IMO              –

        CAS No.        7681-11-0            

        รหัส EC NO.        –

        UN/ID No.      –

        รหัส RTECS        TT 2975000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-659-4

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7681-11-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : –

        LC50(มก./ม3) :     –

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       2.21(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       1.47(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผลึกของแข็ง

        สี : สีขาวถึงไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มี

        นน.โมเลกุล :   166.0

        จุดเดือด(0ซ.) :  1330

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 680

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        3.1

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1  ที่  745 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  140 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  7-9ที่200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.789

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         1.147 ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ มีอาการไอ และหายใจติดขัด น้ำมูลไหล และปวดศีรษะ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคือง เป็นผื่นแดง และปวดแสบปวดร้อน ถ้ารุนแรงเป็นลมพิษและตุมพอง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินระบบย่อยอาหาร

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง เป็นผื่นแดง และเจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :

ถ้าได้รับสารเป็นเวลานาน ทำให้ผิวหนังเป็นผื่นแดง มีอาการน้ำมูกไหล ปวดศีรษะ ระคายเคืองเยื่อเมือก อ่อนเพลีย เป็นโรคโลหิตจาง น้ำหนักลด

        – สารนี้เป็นอันตรายต่อต่อมไทรอยด์ เลือด เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้ และการเก็บ ถ้าสัมผัสกับอากาศไปนาน ๆ สารจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : เกลือไดอะโซเนียม ไดไอโซโพรฟิล เปอร์ออกซิไดคาร์บอเนต สารออกซิไดซ์ โบรมีน คลอรีนไตรฟูลออไรด์ ฟลูออรีนเปอร์คลอเรต คาโลเมล (เมอร์คิวรัสคลอไรด์) โพแทสเซียมคลอเรต เกลือของโลหะ กรดทาทาริกและกรดอื่น ๆ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : อากาศ ความชื้น แสงสว่าง และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ออกไซด์ของสารประกอบโลหะ ฮาโลเจน และไอโอนิกฮาโลเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   12285741_10207269231862551_138656117_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้สารดับเพลิงทั่วไป

        – สารนี้ไม่ติดไฟ

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันสารเคมี และเครื่องช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

        –  เมื่อเกิดการเผาไหม้ จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนไอโอไดด์ที่เป็นอันตราย

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้ : แสงแดด

                – การเก็บรักษานานเกินไป จะทำให้สารเสื่อมสภาพโดยสารจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

                – ภาชนะบรรจุสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ อาจเป็นอันตรายได้

                – สังเกตคำเตือน และข้อควรระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

                – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        ข้อมูลการขนส่ง :

               ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลใส่ภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัด

        – ใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ควรดูดหรือกวาดสารขณะชื้น เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงฝุ่น

        การกำจัด : ปฎิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12309022_10207269202381814_1401123889_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – สวมหน้ากากป้องกันการหายใจแบบครึ่งหน้า

                – สวมหน้ากากกระบังหน้าแบบครึ่งหน้า

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัดให้ช่วยผายปอด และนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ถ้ายังมีสติอยู่กระตุ้นให้เกิดการอาเจียนทันที และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้า และรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำสะอาดอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ นำไปส่งพบแพทย์ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

        – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และการจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
        NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :      –

        DOT Guide :           –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Acetylsalicylic acid

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2-Acetobenzoic acid

         ชื่อเคมีทั่วไป     Acetylsalicylic acid

         ชื่อพ้องอื่นๆ      Acenterine ; Acesal ; Acetal ; Acticyl ; 0-Acetoxybenzoic acid

         สูตรโมเลกุล      C9-H8-O4

         สูตรโครงสร้าง   12305509_10207255987771457_1926859223_n

         รหัส IMO      –

         CAS No.        50-78-2

         รหัส EC NO.    –

         UN/ID No.      2811              

         รหัส RTECS    VO 0700000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         200-064-1

         ชื่อวงศ์  Carboxylic acid

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า University System of Georgia

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ    –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          50-78-2          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตยา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) :     200 (มก./กก.)

         LC50(มก./ม3) :        –

         IDLH(ppm) :   –

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       –

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      1.24 (ppm)

         TLV-STEL(ppm) :      –

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   เฉลี่ย 8 ชั่วโมง :   สารเคมีอันตราย

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
          สถานะ : ของเหลว

         สี : ไม่มีสี ขาว

         กลิ่น : เฉพาะตัว

         นน.โมเลกุล :   108.16

         จุดเดือด(0ซ.) :  140

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 138-140

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.35

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.4

         ความหนืด(mPa.sec) :  –

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0 ที่ 25 0ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.33 ที่  25 0ซ.

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  35 ที่ 37 0ซ.

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.14

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.24  ppm ที่ 25  0ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : อุณหภูมิสลายตัว > 141 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป เป็นพิษ ก่อให้เกิดการระคายเคืองระบบหายใจ

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปเป็นพิษต่อร่างกาย ก่อให้เกิดการระคายเคืองกระเพาะอาหารและลำไส้

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ทำลายเม็ดเลือด ปอด หน้าอก และระบบหายใจ เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์, กรดเข้มข้น, เบสเข้มข้น

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ควันพิษของคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, กรดอะซีติก, กรดซาลิไซลิก

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
          จุดวาบไฟ(0ซ.) :          250

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  500

         ค่า LEL % :    

         UEL % :                

         NFPA Code :   12305631_10207269193941603_1868081692_n

          สารดับเพลิง : ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยถ้าเกิดเพลิงไหม้รุนแรง แต่ถ้าเพลิงไหม้เล็กน้อยให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง ฮาลอน

        – ในขณะที่เกิดเพลิงไหม้ จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนซึ่งจะสามารถลุกติดไฟได้ และไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่แห้ง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี

         สถานที่เก็บ : ไม่ระบุไว้

         ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Poisonus Salid NOS (Acetylsalicylic acid)

                ประเภทอันตราย : 6.1

                หมายเลข UN : UN 2811

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
                 – วิธีการปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

                – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น และระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

                – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

         การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12309022_10207269202381814_1401123889_n 12282808_10207269089578994_74654600_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

         กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ล้างปากด้วยน้ำสะอาด นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนออกทันที นำส่งไปพบแพทย์ทันที ทำความสะอาดเสื้อผ้าก่อนนำมาใช้ใหม่

         สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. :  0500

         OSHA NO. :   

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

         วิธีการวิเคราะห์ :         ชั่งน้ำหนัก

         ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ Tared 37 mm , 5 um PVC filter

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1-2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด ต่ำสุด 7 ลิตร สูงสุด 133 ลิตร      

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :          39

         DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

2-Methyl-2-propanol

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2-Methyl-2-propanol

         ชื่อเคมีทั่วไป     Tert-Butyl alcohol ; T-Butanol

         ชื่อพ้องอื่นๆ      1,1-Dimethylethanol; Trimethylcarbinol; 2-Methylpropan-2-ol; Tert-Butanol; TBA; T-butyl hydroxide; Trimethyl methanol; Dimethylethanol; Methyl-2-propanol; Tertiary-butyl alcohol

         สูตรโมเลกุล      C4H10O

         สูตรโครงสร้าง        12270550_10207247592361577_1372864339_n

         รหัส IMO     12286089_10207247452278075_1668521281_n

         CAS No.        75-65-0

         รหัส EC NO.    603-005-00-1

         UN/ID No.      1120             

         รหัส RTECS     EO 1925000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         200-889-7

         ชื่อวงศ์  Tertiary aliphatic alcohol/ tertiary alkanol/ tertiary alkyl alcohol

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          75-65-0          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการทำแอลกอฮอล์ให้เป็นกลาง ตัวทำลายในการผลิตยา เป็นสาร dehydration agent ใช้ในการทำน้ำหอม เป็นสารตัวกลางเคมี ทำสี ใช้ในการเตรียมเมทิลเมทาไลเลต
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) : 3500(มก./กก.)

         LC50(มก./ม3) :     –

         IDLH(ppm) :    1600 (ppm)

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       100 (ppm)

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :       100 (ppm)        

         TLV-STEL(ppm) :   –

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

         สี : ไม่มีสี

         กลิ่น : เหมือการบูร

         นน.โมเลกุล :   74.12

         จุดเดือด(0ซ.) :  83

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 25.5

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.786

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.55

         ความหนืด(mPa.sec) :    3.35

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  31 ที่ 200ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  –

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  เป็นกลาง

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    3.03

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 250ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   ละลายในเอทานอล และอีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองจมูกและคอ ทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน งง และหมดสติ กดระบบประสาทส่วนกลาง ถ้าสารเข้าไปในปอด ทำให้ปอดอักเสบ ทำให้หัวใจล้มเหลว

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองบวม เป็นผื่นแดง

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน หมดสติ

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ดูดซึมเข้าไปในเลือด แต่สามารถขับออกมาทางลมหายใจและปัสสาวะ และสารนี้ทำลายประสาท ตับ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง ทำให้เกิดการระเบิด โลหะผสมโพแทสเซียม โซเดียม เกิดการจุดติดไฟ กรดแร่แก่ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ กรดซัลฟูริก

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้าสถิตย์ ประกายไฟ เปลวไฟ และแหล่งจุดติดไฟ

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไม่ระบุไว้

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่เกิดการกัดกร่อน

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
          จุดวาบไฟ(0ซ.) :             11

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    478

         ค่า LEL % :     2.4

         UEL % :        8

         NFPA Code :   12277993_10207269065218385_747999914_n

          สารดับเพลิง : ให้ใช้โฟมแอลกอฮอล์ คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

          – สารนี้ไวไฟ

          – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิดที่อุณหภูมิมากกว่า 11 องซาเซลเซียส

          – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

          – น้ำใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล ไม่สามารถทำให้สารเย็นเพราะมีจุดวาบไฟต่ำ

          – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ Isobutydene

          – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

          – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                    – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                    – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                    – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

         สถานที่เก็บ :

                    – เก็บแยกจากสารไวไฟ การจุดสูบบุหรี่ ไม้ขีดไฟ แหล่งจุดติดไฟ

                    – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                    – ต่อภาชนะบรรจุลงดินและใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                    – บริเวณที่เก็บสารควรแยกจากบริเวณที่ทำงาน

                    – อย่าเก็บสารไว้ใกล้ทางออก

                    – ติดป้ายเตือนอันตราย

                    – มีอุปกรณ์กับเพลิงและอุปกรณ์ทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                    – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                    – เก็บไว้ในอุณหภูมิที่บริษัทผู้ผลิตกำหนด

                    – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น

                    – ควรมีการทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                    – ไม่ควรมีการตัด เชื่อม จุดบริเวณใกล้สารเคมี

                    – อย่าใช้สารร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                    – ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุ

                    – อย่านำสารที่ใช้แล้วนำกลับไปใส่ภาชนะบรรจุใหม่

         ข้อมูลการขนส่ง :

                   ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                  ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                  หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                  ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                  ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
           – อย่าเข้าไปในบริเวณสารหกรั่วไหลจนกว่าจะมีการทำความสะอาดเสร็จ

          – ทำความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชำนาญ

          – ย้ายแหล่งจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

          – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

          – ระบายอากาศบริเวณสารรั่วไหล

          – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

          – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน หรือวัสดุดูดซับที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสาร

          – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

          – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

           การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม Cartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
                   หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

                  กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ถ้าผู้ป่วยยังมีสติ ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียนให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240-300 ml เพื่อเจือจางสารในท้อง ถ้าเกิดอาการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

                  สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนสารเคมีออกหมดนำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

                  สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าสารเคมีออกหมด ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก ถ้าให้น้ำล้างตาไหลมาโดนตาไม่ได้โดนสารเคมี นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

                  อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

         – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

         – จะไม่ก่อเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1400

         OSHA NO. :    07

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

         วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

         ข้อมูลอื่น ๆ : 

         – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg./50 mg.

         – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

         – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 1 ลิตร , 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :          16

         DOT Guide :               129

         – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

         – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557