คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุกัดกร่อน

Sulfuric acid

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Sulfuric acid

        ชื่อเคมีทั่วไป     Sulfuric acid

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Oil of vitriol; BOU; Dipping Acid; Vitriol Brown Oil; Sulfuric; Acid Mist; Hydrogen sulfate; Sulfur acid; Sulfuric acid, spent;

        สูตรโมเลกุล      H2SO4

        สูตรโครงสร้าง   12285640_10207267960350764_662178792_n

        รหัส IMO         12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7664-93-9

        หัส EC NO.    016-020-00-8

        UN/ID No.      1830                 

        รหัส RTECS WS 5600000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-639-5

        ชื่อวงศ์                  

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        Kyhochem (pty) Limited

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       Modderfontein Ganteng 1645

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7664-93-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เป็นสารละลายอิเล็กโตรไลต์ เป็นตัวชะล้างถ่านหิน เป็นตัวแลกเปลี่ยนไอออน
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :     2140 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          510/2ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     0.25 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         3.75 (ppm)     

        PEL-STEL(ppm) :

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        0.25 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    0.75 (ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   98

        จุดเดือด(0ซ.) : 276

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -1 – (-30)

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.84

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.4

        ความหนืด(mPa.sec) :        26.9

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    0.001 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   4.07

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนและก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีอาการน้ำท่วมปอด เจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด และหายใจถี่รัว การหายใจเอาสารที่ความเข้มข้นสูงอาจทำให้เสียชีวิตได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้เป็นแผลไหม้ และปวดแสบปวดร้อน

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือการกินเข้าไป ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน แต่ไม่มีผลต่อเนื้อเยื่อ

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้ตาแดง ปวดตา และสายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้มีผลทำลายฟัน ระบบหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : เบสแก่ น้ำ สารอินทรีย์ โลหะอัลคาไลน์

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : เมื่อทำปฏิกิริยากับโลหะจะเกิดออกไซด์ของกำมะถันและไฮโดรเจน และสารนี้ทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ทำให้เกิดเพลิงไหม้และการระเบิด

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    12283116_10207269428147458_196904401_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง น้ำ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : ออกไซด์ของกำมะถัน

                – สารนี้เมื่อทำปฏิกิริยากับสารอินทรีย์ อาจทำให้เกิดเพลิงไหม้และการระเบิดได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากแสง ไอน้ำ เบสแก่ สารประกอบอินทรีย์

                – เก็บภาชนะบรรจุสารไว้ในบริเวณเก็บสารเคมีที่เหมาะสม

                – หลีกเลี่ยงการหายใจและการสัมผัสถูกผิวหนังและตา

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Sulphuric acid

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : UN 1830

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลให้กั้นบริเวณสารหกแยกจากบริเวณอื่น

        – ให้ดูดซับสารที่หกรั่วไหลด้วยสารอัลคาไลด์ เช่น โซดาแอ๊ซ สารอนินทรีย์ หรือดิน

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

               แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับ และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile , Supported Polyvinyl Alcoho, Natural Rubber, Neoprene/Natural Rubber Blend

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                      – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 15 mg/m3 ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งมี Cartridge สำหรับป้องกันก๊าซของสารจำพวกกรด และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากาแบบเต็มหน้า พร้อม Cartridge สำหรับป้องกันก๊าซของสารจำพวกกรด และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canistr สำหรับป้องกันก๊าซของสารจำพวกกรด และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากาแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันก๊าซของสารจำพวกกรด และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย รักษาร่างกายผู้ป่วยให้อบอุ่นและอยู่นิ่ง นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 200-300 มิลลิลิตร นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  การรักษาอื่น ๆ อยู่ในการวินิจฉัยของแพทย์ภายใน 24 ชั่วโมง อาการเกี่ยวกับปอดบวม อักเสบ บางทีอาจจะมีขึ้น

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 7903

        OSHA NO. :   ID 165SG

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง , หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                          – การเก็บตัวอย่างใช้หลอดขนาด 400 mg/200mg. และ glass fiber filter

                          – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.2 ถึง 0.5 ลิตรต่อนาที

                          – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 0.3 ลิตร , 100 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 42

        DOT Guide :   137

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium hypochlorite

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Sodium hypochlorite

        ชื่อเคมีทั่วไป     –

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Clorox; Bleach; Liquid bleach; Sodium oxychloride; Javex; Antiformin; Showchlon; Chlorox; B-K; Carrel-dakin solution; Chloros; Dakin’s solution; Hychlorite; Javelle water; Mera industries 2MOM3B; Milton; Modified dakin’s solution; Piochlor; Sodium hypochlorite, 13% active chlorine;

        สูตรโมเลกุล      ClNaO

        สูตรโครงสร้าง  12226814_10207267937310188_386011687_n

        รหัส IMO     12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7681-52-9

        รหัส EC NO.    017-011-01-9

        UN/ID No.      1791            

        รหัส RTECS     NH 3486300

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-668-3

        ชื่อวงศ์                  

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        1675 No. Main Street, Orange, California 92867

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ         –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7681-52-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารทำความสะอาด
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    8910 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              -/ – ชั่วโมง ( -)

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          –     

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         –

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            สำนักงานอาหารและยา

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ของเหลว

        สี : เขียว-เหลือง

        กลิ่น : ฉุน คล้ายคลอรีน

        นน.โมเลกุล :   74.4

        จุดเดือด(0ซ.) : 48-76

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.20-1.26

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.5

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    <17.5 ที่ – 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  100 ที่  – 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    12 ที่ – 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.05

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.32ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อเมือกของทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองปานกลาง และเกิดผื่นแดงบนผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกินหรือกลืนเข้าไปจะทำให้เกิดระคายเคืองต่อเยื่อบุที่ปากและลำคอ เกิดอาการปวดท้อง และแผลเปื่อย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะทำให้ระคายเคืองอย่างรุนแรง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่มีรายงานว่าสารนี้ก่อมะเร็ง และสารนี้มีผลทำลายปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ผิวหนัง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้ไม่เสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรดเข้มข้น, สารออกซ์ไดส์อย่างแรง, โลหะหนัก, สารรีดิวซ์, แอมโมเนีย, อีเธอร์, สารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์ เช่น สี, เคอร์โรซีน, ทินเนอร์, แลคเกอร์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความเสถียรของสารจะลดลงเมื่อความเข้มข้นเพิ่มขึ้น, สัมผัสกับความร้อน, แสง, ค่าpHลดลง, ผสมกับโลหะหนัก เช่น นิกเกิล, โคบอลต์, ทองแดง และเหล็ก

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    ไม่ติดไฟ

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    12283213_10207269408266961_620402600_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ ผงเคมีแห้ง

                – การสัมผัสกับสารอื่นอาจก่อให้เกิดการติดไฟ

                – ความร้อนและการผสม/ปนเปื้อนกับกรด จะทำให้เกิดฟูม/ก๊าซที่เป็นพิษและมีฤทธิ์ระคายเคือง ซึ่งการสลายตัวที่เกิดขึ้นจะทำให้เกิดก๊าซคลอรีนออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากแสง และสารเคมีอื่น

                – อย่าผสมสารนี้หรือทำให้สารนี้ปนเปื้อนกับแอมโมเนีย, ไฮโดรคารืบอน, กรด, แอลกอฮอล์ และอีเธอร์

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ทำการเคลื่อนย้ายในที่โล่ง

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศในพื้นที่ที่มีสารหกรั่วไหล

        – ให้กันแยกพื้นที่ที่สารหกรั่วไหล และกันคนที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันออกไป

        – ให้เก็บส่วนที่หกรั่วไหล เก็บใส่ในภาชนะบรรจุและทำให้เป็นกลางด้วยโซเดียมซัลไฟด์, ไบด์ซัลไฟด์, ไทโอซัลไฟด์

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยวัสดุดูดซับ เช่น ดินเหนียว ทราย หรือวัสดุดูดซับ แล้วเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้ฉีดล้างบริเวณที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ หากผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้ดื่มสารละลายโปรตีน หรือ ถ้าไม่สามารถหาได้ก็ให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ อย่าให้ผู้ป่วยดื่มน้ำส้ม,เบคกิงโซดา,ยาที่มีฤทธิ์เป็นกรด นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำปริมาณมากๆ

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :   

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. : 

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 39

        DOT Guide :   154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Sodium hydroxide

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Sodium hydroxide

        ชื่อเคมีทั่วไป     –

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Caustic soda ; Lye; Sodium hydrate; Soda lye; White Caustic; Lye, caustic; Augus Hot Rod;

        สูตรโมเลกุล      NaOH

        สูตรโครงสร้าง   12305867_10207267928429966_653924403_n

        รหัส IMO   12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        1310-73-2

        รหัส EC NO.    011-002-00-6

        UN/ID No.      1823            

        รหัส RTECS     WB 4900000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         215-185-5

        ชื่อวงศ์                  

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        JT Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ         –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1310-73-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    40  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     6.11(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          –     

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       1.22(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :         –

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      1.22 2mg/m3(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   40.00

        จุดเดือด(0ซ.) : 1390

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 318

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.13

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    >1.4

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    เล็กน้อย

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  111  ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    13-14 ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   1.635

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.611ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และทำให้เกิดการทำลายต่อทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดอาการจาม ปวดคอ หรือน้ำมูกไหล ปอดอักเสบอย่างรุนแรง หายใจติดขัด หายใจถี่รั่ว

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคืองรุนแรง เป็นแผลไหม้ และเกิดเป็นแผลพุพองได้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป ทำให้แสบไหม้บริเวณปาก คอ กระเพาะอาหาร ทำให้เป็นแผลเป็น เลือดออกในกระเพาะอาหาร อาเจียน ท้องร่วง ความดันเลือดลดต่ำลง อาจทำให้เสียชีวิต

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะมีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้เกิดการระคายเคืองรุนแรง เป็นแผลแสบไหม้ อาจทำให้มองไม่เห็นถึงขั้นตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การสัมผัสสารติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทำให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อ และสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนเนื้อเยื่อ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : น้ำ, กรด, ของเหลวไวไฟ, สารประกอบอินทรีย์ของฮาโลเจน โดยเฉพาะไตรคลอโรเอทิลีน ซึ่งอาจก่อให้เกิดไฟหรือการระเบิด การสัมผัสไนโตรมีเทนและสารประกอบไนโตรทำให้เกิดเกลือที่ไวต่อการกระแทก

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความชื้น, ฝุ่น และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : โซเดียมออกไซด์ การทำปฏิกิริยากับโลหะเกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ไวไฟ

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :       

        NFPA Code :    12283181_10207269220502267_1469058426_n

         สารดับเพลิง : ไม่ระบุไว้

        – สารนี้ไม่ทำให้เกิดอันตรายจากเพลิงไหม้ สารที่ร้อนหรือหลอมอยู่จะทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ

        – สารนี้ทำปฏิกิริยากับโลหะ เช่น อะลูมิเนียม เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่ไวไฟ

        – สารดับเพลิงกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ ห้ามใช้น้ำในการดับเพลิง

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากความร้อน, ความชื้น, สารที่เข้ากันไม่ได้

                – เก็บห่างจากอะลูมิเนียม, แมกนีเซียม

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง อาจเป็นอันตรายได้

                – อย่าผสมสารนี้กับกรดหรือสารอินทรีย์

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Sodium Hydroxide

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : 1832

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 300 ปอนด์

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ป้องกันบุคคลเข้าไปในบริเวณสารรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย, แร่เวอร์มิคิวไลต์ หรือวัสดุดูดซับอื่น

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด โดยวิธีไม่ทำให้เกิดฝุ่น

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่น ๆ

        – สารที่หลงเหลืออยู่ สามารถทำให้เจือจางด้วยน้ำหรือทำให้เป็นกลางด้วยกรด เช่น อะซีติก, ไฮโดรคลอริก, ซัลฟูริก

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12309022_10207269202381814_1401123889_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

        สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งมีอุปกรณ์กรองฝุ่น และละอองไอ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

            – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำหรือนมปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ : 

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – สารนี้ไม่สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ

                – สารนี้เป็นพิษต่อปลาก และแพลงค์ตอน ซึ่งส่งผลเป็นอันตรายเนื่องจากเปลี่ยนแปลงพีเอช อาจทำให้ปลาตายได้

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 7401

        OSHA NO. : 

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – วิธีวิเคราะห์ใช้ acid – base titration

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 ถึง 4 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด ต่ำสุด 70 ลิตร สูงสุด 1000 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 39

        DOT Guide :   154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium dichromate

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Potassium dichromate

        ชื่อเคมีทั่วไป     –

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Dichromic acid, dipotassium salt; Bichromate of potash; Potassium dichromate (VI); Dipotassium dichromate; Iopezite; Chromic acid (H2Cr2O7), dipotassium salt

        สูตรโมเลกุล      K2CR2O7

        สูตรโครงสร้าง     12312201_10207267070088508_1320813676_n

        รหัส IMO   12305387_10207267050808026_116692330_n 12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7778-50-9            

        รหัส EC NO.        024-002-00-6

        UN/ID No.      3085

        รหัส RTECS     KX 7680000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-906-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T.Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7778-50-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นสารในการวิเคราะห์และทดสอบทางเคมี(reagant)ในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 190  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       0.0083(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       0.0042(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : แดงส้ม

        กลิ่น :   ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :   294.19

        จุดเดือด(0ซ.) :  500

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 398

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.676

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  6.5 %

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  4.04 ที่250ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  12.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.08  ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สลายตัวที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำลายเนื้อเยื่อและทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลพุพองและเกิดรูพรุนที่ผนังโพรงจมูก รวมถึงอาการลำคออักเสบ ไอ หายใจถี่รัว และหายใจติดขัด อาจทำให้ปอดไวต่อการเกิดภูมิแพ้ถ้าสูดดมเข้าไปมากๆอาจทำให้น้ำท่วมปอดได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนเกิดอาการผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และแผลไหม้อย่างรุนแรง ฝุ่นและสารละลายเข้มข้นจะเป็นเหตุให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง การสัมผัสกับผิวหนังที่แตกเป็นแผลจะทำให้เกิดแผลพุพอง (แผลจากโครเมี่ยม)และสารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังจะมีผลกระทบต่อการทำงานของไตและตับ จะเป็นสาเหตุให้ผิวหนังไวต่อภูมิแพ้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้ปาก ลำคอ และกระเพาะอาหารเป็นแผลไหม้อย่างรุนแรง และอาจจะทำให้ถึงแก่ความตายได้ ทำให้เจ็บคอ อาเจียน และท้องเสีย อาจจะทำให้ลำไส้อักเสบ เวียนศีรษะ กล้ามเนื้อเป็นตะคริว หมดสติ เป็นไข้ ตับและไตถูกทำลาย

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะทำให้มองไม่ชัด ตาแดง เจ็บตา เยื่อบุตาเกิดแผลไหม้อย่างรุนแรง จะก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่อกระจกตาหรือตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็งตาม IARC, OSHA, ACGIH, NTP,EPA และสารนี้มีผลทำลายไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ปอด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บสารเคมี

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารรีดิวซ์, อะซิโตนกับกรดซัลฟูริค, โบรอนกับซิลิคอน, เอทธิลีนไกลคอล, เหล็ก, ไฮดราซีน และไฮดรอกซี่ลามีน, สารอินทรีย์หรือสารอื่นที่ออกซิไดซ์ได้ง่าย (กระดาษ ไม้ กำมะถัน อลูมินั่มหรือพลาสติก)

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การลุกไหม้ทำให้เกิดก๊าซโครเมี่ยมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   12282908_10207269382986329_2108719215_n

         สารดับเพลิง : ให้ฉีดด้วยน้ำปริมาณมากๆ การใช้นำฉีดเป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

        – สารนี้ไม่ติดไฟแต่เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรง

        – อย่าให้น้ำที่ใช้ดับเพลิงแล้วไหลล้นเข้าไปในท่อระบายน้ำหรือทางน้ำ

        – สารนี้สัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะทำให้เกิดการเผาไหม้อย่างรุนแรงมาก

        – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – หลีกเลี่ยงการเก็บบนพื้นไม้

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย โดยเฉพาะสำหรับงานบำรุงรักษาหรือที่ซึ่งมีการสัมผัสในระดับมากเกินกว่าที่กำหนด

                – ล้างมือ หน้า แขน คอ เมื่อออกจากพื้นที่ควบคุม และก่อนกินอาหาร หรือสูบบุหรี่

                – อาบน้ำถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนออกและสวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาดหลังจากเลิกงานแต่ละวัน หลีกเลี่ยงการใช้เสื้อผ้าที่ปนเปื้อน

                – ภาชนะของสารนี้อาจจะเป็นอันตรายเมื่อเป็นถังเปล่า เนื่องจากมีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง

                – สังเกตคำเตือนทั้งหมดและข้อควรระมัดระวังที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : โปแตสเซียมไดโครเมท (Pottassium dicromate)

                ประเภทอันตราย : 5.1 , 8

                หมายเลข UN : 3085

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : 400 ปอนด์

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ดูดหรือการเก็บกวาดขณะชื้น เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        – เก็บกวาดและบรรจุใส่ภาชนะบรรจุเพื่อเก็บคืนหรือนำไปกำจัด

        – สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        การกำจัด : การพิจารณาการกำจัดสารนี้ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างปลอดภัยในการนำเอากลับคืนมาใช้ใหม่จะต้องจัดการเช่นเดียวกับกากของเสียและส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12309022_10207269202381814_1401123889_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n 12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนและนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือการกลืนเข้าไปและยังมีสติอยู่ อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสตินำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันที่ด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดรองเท้าและเสื้อผ้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออกและนำไปพบแพทย์โดยทันที ล้างทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าให้ทั่วถึงก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาขึ้น – ลง นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : 

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :     30

        DOT Guide :          141

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Hydrogen peroxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Hydrogen dioxide

        ชื่อเคมีทั่วไป     Hydrogen peroxide ; Hydroperoxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Peroxide; Albone; Inhibine; Perhydrol; Peroxan; Oxydol; Hioxy; Dihydrogen dioxide; T-stuff; Superoxol; H2O2; Hydrogen Peroxide, 30%

        สูตรโมเลกุล      H2O2

        สูตรโครงสร้าง    12285691_10207267048407966_236824904_n

        รหัส IMO      12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7722-84-1            

        รหัส EC NO.        008-003-00-9

        UN/ID No.      2984, 2015

        รหัส RTECS        MX 0900000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         231-765-0

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Orion Laboratories Pty Ltd.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7722-84-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารฆ่าเชื้อบาดแผล หรือฆ่าเชื้อโรค
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 4060  (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :     –

        IDLH(ppm) :   75(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       1(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       1(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : ฉุน

        นน.โมเลกุล :   34.0

        จุดเดือด(0ซ.) :  100

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -11.1

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.00

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.2

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  5ที่ 25 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.39

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.719  ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สามารถละลายได้ในอีเทอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนจะก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้ไวต่อการสัมผัส เกิดผื่นแดง และปวดแสบปวดร้อน

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะก่อให้เกิดอาการเจ็บคอ ปวดท้องและอาเจียนได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคืองตา ตาแดง และปวดตา สายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ทำลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ เหล็ก คอปเปอร์ ทองเหลือง ทอง โครเมียม สังกะสี ตะกั่ว แมงกานีส เงิน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน และแสงสว่าง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจน และออกซิเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง โฟม หรือคาร์บอนไดออกไซด์

        – สารนี้เป็นสารไวไฟ

        – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับอุณหภูมิสูง

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
        การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารไวไฟ สารรีดิวซ์ และเบสเข้มข้น

                – เก็บไว้ที่อุณหภูมิระหว่าง 15 – 30 องศาเซลเซียส

                – ป้องกันแสงสว่าง

                – สารจะสลายตัวเป็นออกซิเจน และไฮโดรเจน เมื่อสัมผัสความ้อนสูงและแสงสว่าง

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล : ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่น

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลใส่ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกได้และติดฉลากสำหรับนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ

        การกำจัด : ปฎิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 

12277978_10207269044017855_554821809_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 10 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

                       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้าโดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 75 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ( ถ้าใส่ contact lens อยู่ให้ถอดออก ) ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออกและฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำเย็นอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และการจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :    126SG

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  30, 31

        DOT Guide :       140, 143

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Benzoyl chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   Benzenecarbonyl chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป     Benzoyl chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Alpha-chlorobenzaldehyde; Benzoic Acid, Chloride

        สูตรโมเลกุล      C6H5COCl

        สูตรโครงสร้าง    12311985_10207266893884103_446829167_n

        รหัส IMO        12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        98-88-4                  

        รหัส EC NO.    607-012-00-0

        UN/ID No.      1736              

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS         202-710-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 98-88-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้เป็นสารวิเคราะห์และทดสอบทางด้านเคมี (regent) ในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1900 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       1870/ 2 (มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       –

        TLV-STEL(ppm) :     1 (ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :   140.57

        จุดเดือด(0ซ.) :  197.2

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 0.6

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.21

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.88

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ 32 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  –

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  NA ที่ 21 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.75

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.17 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : ละลายในอีเทอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำลายเนื้อเยื่อบุเมมเบรนและทางเดินหายใจ ทำให้เป็นแผลไหม้ เกิดอาการหายใจติดขัด, กล่องเสียงอักเสบ, คอแห้ง, เจ็บคอ, ไอและหายใจลำบาก, หายใจถี่รัว, ปวดศรีษะ, คลื่นไส้และอาเจียน, อาจทำให้ตายได้ซึ่งเป็นผลจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ การอักเสบและอาการบวมน้ำของกล่องเสียงและหลอดลมใหญ่, โรคปอดอักเสบเนื่องจากสารเคมีและปอดบวม

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้เกิดอาการผื่นแดง เจ็บปวด และแผลไหม้อย่างรุนแรงขึ้นได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนจะทำให้ปาก, ลำคอ และช่องท้องเป็นแผลไหม้อย่างรุนแรง ทำให้เจ็บคอ, อาเจียน, ท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารนี้ก่อให้เกิดการระคายเคืองตาอย่างรุนแรงจะทำให้กระจกตาไหม้ได้และตาถูกทำลายได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สัมผัสเรื้อรัง  การสัมผัสเป็นเวลานาน ๆ จะมีผลต่อผิวหนัง และทางเดินหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร เมื่ออยู่ในภาชนะที่ปิดมิดชิดภายใต้สภาวะการใช้และการเก็บปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : น้ำ ไอน้ำ แอลคาไล สารออกซิไดซ์ โซเดียมเอไฮด์ (DMSO Sodium azide) แอลกอฮอล์ เอมีน (Amines) และสารประกอบอินทรีย์อื่น ๆ จะทำปฏิกิริยากับไฮโดรเจน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟและสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : จะทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ เมื่อได้รับความร้อน จะสลายตัวเป็นไฮโดรเจนคลอไรด์ และก๊าซฟอสจีน ถ้าสัมผัสถูกความชื้นจะเกิดก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ ที่เป็นพิษ และมีฤทธิ์กัดกร่อนขึ้น

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           72

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     600

        ค่า LEL % :     1.2

        UEL % :         4.9    

        NFPA Code :   12273071_10207269248742973_843825048_n

        สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์, หรือผงเคมีแห้ง, อย่าใช้น้ำหรือโฟมในการดับเพลิง

        – การฉีดน้ำให้เป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

        – ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

        – อย่าให้น้ำไหลเข้าไปในภาชนะที่บรรจุสารเคมี

        – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศจะเกิดการระเบิดได้ภายในขีดจำกัดความไวไฟที่อุณหภูมิของจุดวาบไฟ

        – ไอระเหยสามารถไหลไปบนพื้นสู่แหล่งจุดติดไฟ และเกิดติดไฟย้อนกลับมาได้

        – ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

        – ขณะเกิดการเผาไหม้จะเกิดก๊าซฟอสจีนและก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์ซึ่งเป็นก๊าซพิษขึ้นได้

        – ชุดดับเพลิงธรรมดาไม่มีประสิทธิภาพพอที่จะดับเพลิงที่เกี่ยวข้องกับสารนี้

        – หลีกห่างจากภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกสนิท เมื่อเกิดเพลิงไหม้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่เย็นและแห้งมีการระบายอากาศเป็นอย่างดี อยู่ห่างจากพื้นที่ซึ่งอาจจะเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลันได้

                – ควรเก็บไว้ภายนอกอาคารหรือการแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – แยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – ภาชนะบรรจุจะต้องมีสายต่อเชื่อมและต่อลงดินสำหรับการถ่ายเทเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดประกายไฟสถิตย์, และป้องกันไม่ให้มีความชื้น

                – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ รวมถึงการป้องกันการระเบิดได้ของอากาศ

                – ไม่ควรสูบบุหรี่ในบริเวณเก็บและใช้สารเคมีนี้

                – ภาชนะบรรจุสารนี้ที่เป็นถังเปล่าแต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหยของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Benzoyl chloride

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : UN 1736

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – จัดให้มีการระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล

        – ให้กั้นแยกเป็นพื้นที่อันตรายและ, ห้ามไม่ให้บุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเข้าไป

        – เก็บรวบรวมของเหลวใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับด้วยวัตถุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (vermiculite) ทรายแห้ง (earth) และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี, อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย ในการดูดซับสาร

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่ถ้าเป็นไปได้

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ ป้องกันอย่าให้น้ำที่เกิดจากการฉีดล้างไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ

        – อย่าฉีดล้างลงไปท่อระบายน้ำ

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12309022_10207269202381814_1401123889_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์, ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด, ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย, นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือกลืนเข้าไป, อย่ากระตุ้นทำให้เกิดอาเจียน, ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ , ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่ที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง เช็ดสารเคมีออกจากผิวหนังให้หมดแล้วฉีดล้างผิวหน้งด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก, นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที, ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที, นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ข้อมูลทางนิเวศวิทยา เมื่อรั่วไหลสู่ความชื้นในดินหรือน้ำ, คาดว่าสารนี้จะเกิดปฏิกิริยาของการสังเคราะห์ระหว่างน้ำกับสารประกอบที่ละลายในน้ำ,

                – สารนี้มีแนวโน้มที่จะไม่เกิดการสะสมในสิ่งมีชีวิต

                – เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ สารนี้จะสลายตัวได้ปานกลางโดยทำปฏิกิริยากับสารไฮดรอกวิล เรดิรัล ที่เกิดจากการปฏิกิริยาเคมีกับแสง สารนี้จะสลายตัวโดยการสังเคราะห์แสงได้ปานกลาง เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ สารนี้คาดวาจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง (halrtife) ภายในเวลาน้อยกว่า 1-10 วัน ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม : สารนี้จะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ ค่าความเข้มข้นที่ทำให้ปลาตายกว่าร้อยละ 50 LC 50 ภายใน 96 ชั่วโมง มีค่าประมาณ 1-100 มิลลิกรัมต่อลิตร

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          41

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Ammonia solution

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
          ชื่อเคมี IUPAC   Ammonia

         ชื่อเคมีทั่วไป     Ammonia ; Anhydrous

         ชื่อพ้องอื่นๆ      N-H; Ammonia, aqueous~Ammonia, solution; Ammonia

         สูตรโมเลกุล      NH3

         สูตรโครงสร้าง   12272645_10207256009251994_1563749215_n

         รหัส IMO    12305461_10207256009932011_793950692_n12283340_10207256009451999_60499863_n

         CAS No.        7664-41-7

         รหัส EC NO.    007-001-00-5

         UN/ID No.      1005               

         รหัส RTECS   BO 0875000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         231-635-3

         ชื่อวงศ์  Alkaline Gas

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Praxair Product.Inc

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          7664-41-7          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) :     –

         LC50(มก./ม3) :     2000 / 4 (มก./ม3)

         IDLH(ppm) :   300 (ppm)

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       35 (ppm)

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      25 (ppm)

         TLV-STEL(ppm) :      35 (ppm)

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
          สถานะ : ก๊าซ

         สี : ไม่มีสี

         กลิ่น : ฉุน

         นน.โมเลกุล :   17.031

         จุดเดือด(0ซ.) :  -33.35

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -77.7

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.6819

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    0.579

         ความหนืด(mPa.sec) :   –

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  5900ที่ 200ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11.6ที่ –0ซ.

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  0.7

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          1.428 ppm ที่  25  0ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปในปริมาณมากกว่า 25 ppm ทำให้ระคายเคืองจมูกและคอ ถ้าได้รับปริมาณมากจะหายใจติดขัด เจ็บหน้าอก หลอดลมบีบเกร็ง มีเสมหะและปอดบวม

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะเป็นฝื่นแดง บวม เป็นแผล อาจทำให้ผิวหนังแสบไหม้ถ้าได้รับสารปริมาณมากๆ

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไปจะทำให้แสบไหม้บริเวณปาก คอ หลอดอาหารและท้อง

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เจ็บตา เป็นผื่นแดง ตาบวม ทำให้น้ำตาไหล ทำลายตา

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  เป็นสารก่อมะเร็งและทำลายไต ตับ ปอด ระบบประสาทส่วนกลาง และเป็นสารมีฤทธิ์กัดกร่อน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
 ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : ทอง เงิน ปรอท สารออกซิไดซ์ ฮาโลเจน สารประกอบฮาโลจีเนต กรด ทองแดง อลูมิเนียม คลอเรต สังกะสี

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เกิดก๊าซไฮโดรเจนที่อุณหภูมิมากกว่า 840องศาเซลเซียส

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  651

         ค่า LEL % :     15

         UEL % :        28     

         NFPA Code :   12283181_10207269220502267_1469058426_n

         สารดับเพลิง : CO2 ผงเคมีแห้ง สเปรย์น้ำ

        – วิธีการดับเพลิงรุนแรง : อพยพคนออกจากบริเวณเพลิงไหม้ อย่าเข้าไปบริเวณเพลิงไหม้โดยปราศจากอุปกรณ์ป้องกันอันตราย หล่อเย็นภาชนะบรรจุโดยใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ใช้น้ำหยุดการแพร่ของไอ ย้ายภาชนะบรรจุออกถ้าสามารถทำได้

        – อันตรายจากการระเบิดและเพลิงไหม้ผิดปกติ : จะเกิดก๊าซพิษที่ไวไฟและมีฤทธิ์กัดกร่อน สามารถระเบิดถ้าผสมกับอากาศและสารออกซิไดซ์ ไม่ควรเก็บภาชนะบรรจุไว้เกินอุณหภูมิ 52 องศาเซลเซียส

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน เปลวไฟและประกายไฟ เก็บให้ห่างจากสารออกซิไดซ์ ปิดวาล์วเมื่อไม่ใช้สารหรือภาชนะบรรจุว่างเปล่า ต้องมั่นใจว่าตรึงถังแก๊สไว้แน่นอย่างเหมาะสมขณะใช้ หรือเก็บ

         สถานที่เก็บ :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

         ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล : ให้อพยพผู้คนออกจากบริเวณอันตรายทันที สวมอุปกรณ์ป้องกันการหายใจและชุดป้องกันสารเคมี ลดการกระจายของไอด้วยสเปรย์น้ำ ย้ายแหล่งจุดติดไฟออกให้หมด หยุดการรั่วไหลของสารถ้าทำได้

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 ppm ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 300 ppm ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจและหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ประเภทที่เหมาะสม โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

        ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       –  ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่ได้รับสาร ถ้าไม่หายใจให้ใช้เครื่องช่วยหายใจ ให้ออกซิเจนถ้าหายใจติดขัด รักษาร่างกายให้อบอุ่น นำส่งไปพบแพทย์

         กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนกินเข้าไป สารนี้เป็นก๊าซที่อุณหภูมิและความดันปกติ ให้บ้วนปากด้วยน้ำแล้วให้ดื่มน้ำหรือนมอย่างน้อย 2 แก้ว อย่ากระตุ้นให้อาเจียน นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกตา : ล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที ล้างโดยเปิดเปลือกตาล่างบน จนกว่าไม่มีสารเคมีหลงเหลืออยู่ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

          อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
          ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. :  6015, 6016

         OSHA NO. :    188

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

         วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

         ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.1 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 0.1 ลิตร สูงสุด 76 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :          07

         DOT Guide :               125

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557