คลังเก็บหมวดหมู่: เทคโนโลยีเคมี

Potassium fluoride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium fluoride

        ชื่อเคมีทั่วไป  Potassium fluoride anhydride

        ชื่อพ้องอื่นๆ    –

        สูตรโมเลกุล    KF

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์49

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      7789-23-3

        รหัส EC NO.  009-005-00-2

        UN/ID No.  1812

        รหัส RTECS    TT 0700000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        232-151-5

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า JT Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7789-23-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้เป็นสารในห้องปฏิบัติการ (Ladoratory Reagent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    245(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.05(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    1.05(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                ชนิดที่ 1

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผงของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  58.10

        จุดเดือด(0ซ.) :  1505

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  860

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      2.48

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ 885 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.38

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =   0.42ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     สารนี้ไม่ละลายในแอลกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และระบบทางเดินหายใจเป็นแผลไหม้ มีอาการไอ เจ็บคอ หายใจติดขัด ผงฝุ่นของสารนี้อาจจะดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเข้าไป จะมีอาการคล้ายกับการกลืนหรือกินเข้าไป อาการระคายเคืองและเป็นแผลไหม้อาจจะไม่เกิดขึ้นทันที

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผิวหนังเป็นแผลไหม้ สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังได้ ผลกระทบอาจจะไม่เกิดขึ้นทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป ทำให้คลื่นไส้, อาเจียน, ท้องร่วง และปวดท้อง ทำให้อ่อนเพลีย, มีน้ำลายมาก, ผิดปกติ, การหายใจแผ่วลง, สั่น และมีอาการขั้นโคม่า ทำลายสมองและไต และอาจจะตายได้เนื่องจากการหายใจล้มเหลว

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เป็นแผลไหม้, ตาแดง, อาจทำลายตาได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : ทำลายสมอง, ไต, ระบบหัวใจ ทำให้น้ำหนักลด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  คงตัวที่สภาวะปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  Platinum plus bromine trifluoride, กรดเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ควารชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   เมื่อเผาไหม้จะเกิดไอของไฮโดรเจนฟลูออไรด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ไม่พิจารณาอันตรายที่เกิดจากไฟไหม้และการระเบิด

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดฟูม/ก๊าซพิษที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากกรดและด่าง

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Potassium fluoride

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 1812

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดการหกรั่วไหล ระบายอากาศบริเวณสารหกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – หลีกเลี่ยงการทำให้เกิดฝุ่น

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่อากาศบริสุทธิ์ ถ้าไม่หายใจให้เครื่องช่วยหายใจ ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจน ช่วยนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ดื่มนม เคี้ยวยาเม็ดแคลเซียมคาร์บอเนต ห้ามนำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนออก นำส่งไปพบแพทย์ทันที ทำความสะอาดเสื้อผ้าก่อนนำมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   –        

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium cyanide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium cyanide

        ชื่อเคมีทั่วไป  Hydrocyanic acid, potassium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ    –

        สูตรโมเลกุล    KCN

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์47

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      151-50-8

        รหัส EC NO.  006-007-00-5

        UN/ID No.  1680

        รหัส RTECS    TS 8750000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        205-792-3

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  WWW. J.T. BAKER.COM

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                151-50-8         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    5 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            9.38(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      1.88(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    1.88(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    1.88(ppm)

        TLV-C(ppm) :     188(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : คล้ายอัลมอนด์

        นน.โมเลกุล :  65.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  1625

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   634

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      1.55

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11-12 ที่ 20 0ซ.   

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.66

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =    0.375 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนระบบทางเดินหายใจ สารนี้จะยับยั้งเซลล์ที่เกี่ยวกับการหายใจ อาจจะทำให้ระบบเลือด, ระบบประสาทส่วนกลาง และไทรอยด์ เปลี่ยน อาจจะทำให้ปวดศีรษะ, อ่อนเพลีย, เวียนศีรษะ, คลื่นไส้ และอาเจียน, หัวใจเต้นช้า, กล้ามเนื้อหดเกร็งอย่างรุนแรง, หมดสติ , โคม่า และตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน อาจจะทำให้เกิดอาการอักเสบ และผิวไหม้อย่างรุนแรง สารนี้สามารถซึมผ่านผิวหนังได้ และมีอาการคล้ายคลึงกับการสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินสารนี้เข้าไป สารนี้เป็นสารที่เป็นพิษสูง มีฤทธิ์กัดกร่อนอวัยวะที่เกี่ยวกับการย่อยอาหาร อาจจะทำให้ปาก และหลอดอาหารเป็นแผลไหม้, ปวดท้อง ถ้ากลืนกินเข้าไปในปริมาณมาก จะทำให้หมดสติทันที และตายได้ เนื่องจากระบบหายใจหยุด หรือทำงานช้าลง

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสสารนี้ทางตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนอาจจะมีอาการตาแดง, เจ็บตา , การมองพร่ามัว และทำลายตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การสัมผัสเรื้อรัง การสัมผัสสารนี้เป็นเวลานานหรือบ่อย ๆ อาจจะทำให้ผิวหนังเป็นผื่นแดง และเจ็บจมูก สารนี้มีผลทำลายเลือด ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบหลอดเลือดหัวใจ ต่อมไทรอยด์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรมากในขณะที่แห้ง แต่ถ้ามีความชื้น จะสลายตัวอย่างช้า ๆ ปล่อยก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนซึ่งเป็นก๊าซพิษ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  กรดเข้มข้นและสารออกซิไดซ์ที่รุนแรง นำหรือสารอัลคาไลน์, คาร์บอนไดออกไซด์ในอาการ เมื่อทำปฏิกิริยาจะเกิดก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนด์ที่เป็นพิษ และไวไฟ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน, ความชื้น, สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ฟูม / ก๊าซไซยาไนด์ และออกไซด์ของไนโตรเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   300

         สารดับเพลิง : ใช้ผงเคมีอัลคาไลน์แห้ง และ กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ อย่าใช้คาร์บอนไดออกไซด์จะทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนด์

                – สารนี้ไม่ทำให้เกิดการระเบิด แต่เมื่อสัมผัสกับอุณหภูมิที่สูงกว่า 450 องศาเซลเซียส จะทำให้เกิดการระเบิด ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – สารนี้ลุกไหม้ติดไฟไม่ได้ แต่จะสลายตัวเมื่อสัมผัสกับกรด ให้ก๊าซไฮโดรเจนไซยาไนด์ ซึ่งเป็นก๊าซพิษ และก๊าซไวไฟ

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย เพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุ

                –  กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีแบบเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – บรรจุที่ปิดผนึกแน่นสนิท

                – เก็บในที่เย็น แห้ง มีการระบายอากาศที่ดี ป้องกันการทำลายทางกายภาพ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ ป้องกันการทำลายทางกายภาพ

                – ผู้ทำงานควรใช้สารอย่างระมัดระวัง

                – สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่จำเป็น

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ฝุ่น ของแข็ง ) ให้สังเหตุคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – อย่าเก็บไว้ใต้ระบบหัวพ่นฉีดน้ำ

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ห้ามกินอาหาร เครื่องดื่ม หรือสูบบุหรี่ในขณะปฏิบัติงาน หรือบริเวณปฏิบัติงาน

                – การมีผู้ที่มีความรู้มาแนะนำการใช้สารไซยาไนด์

                – อย่าเก็บไว้ใกล้สารไวไฟ หรือเปลวไฟ จะทำให้เกิดเพลิงไหม้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : POTASSIUM CYANIDE

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 1680

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 1

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดการหกรั่วไหล เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณหกรั่วไหล

        – ให้บุคคลที่มีความชำนาญเคลื่อนย้ายสารหกรั่วไหล

        – ทำความสะอาดบริเวณหกรัวไหล

        – ควรสวมใส่ชุดป้องกันและอุปกรณ์ป้องกันการหายใจ

        – เก็บกวาดสารใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ

        – นำวัสดุดูดซับแล้วมาทำความสะอาดใหม่ โดยใช้โซเดียมหรือสารละลายแคลเซียมไฮโปคลอไรด์

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 25 mg/m3 : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA)พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า(gas mask) ซึ่งมี canister ประเภทที่เหมาะสม และอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย รักษาร่างกายให้อบอุ่น อย่าช่วยหายใจแบบปากต่อปาก ถ้าผู้ป่วยหมดสติให้ออกซิเจนและไนโตรเจน โดยการหายใจเข้าไป

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนเพื่อช่วยหายใจ ถ้าผู้ป่วยยังมีสติให้ผู้ป่วยดื่ม CHARCOAL SLURRY ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน จะช่วยให้ผู้ป่วยมีสติกลับคืนมา

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที โดยกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทำการล้าง นำส่งแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ถ้าได้รับสารไซยาไนด์ ให้ช่วยรักษาทันทีโดยให้สาร AMYL NITRILE, SODIUM NITRILE, SODIUM THIOSULFATE ปล่อยให้ผู้ป่วยหายใจเอา AMYL NITRILE เข้าไป 15-30 วินาที / นาที ทำทุก ๆ 3 นาที ถ้ามีอาการคลื่นไส้ หายใจติดขัดให้ออกซิเจน

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – สารนี้ทำลายสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตในน้ำและพืชน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – เป็นอันตรายต่อน้ำดื่ม มีความเป็นพิษสูงต่อแหล่งน้ำ เมื่อผสมกับน้ำจะก่อให้เกิดสารผสมที่มีพิษ ไม่สามารถเจือจางได้ สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำ ในผลิตภัณฑ์จากการสลายตัวที่เป็นพิษ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :   6010, 7904

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :   หลอดเก็บตัวอย่าง               

        วิธีการวิเคราะห์ :       สเปคโตโฟโตมิเตอร์   

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – ใช้ในการวิเคราะห์ให้ใช้ Speetrophotometry visible absorption

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 600 mg / 200 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.05 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 2ลิตร สูงสุด 90 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        42

        DOT Guide :            157

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium chromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium chromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Potassium chromate (VI)

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Chromic acid, dipotassium salt; Chromic acid (H2CrO4), dipotassium salt;

        สูตรโมเลกุล    K2Cr2O4

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์46

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.      7789-00-6

        รหัส EC NO.  024-006-00-8

        UN/ID No.    3077

        รหัส RTECS    GB 2940000

        รหัส EUEINECS/ELINCS      232-140-5

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7789-00-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นสารวิเคราะห์ และทดสอบทางเคมี ( reagent ) ในห้องปฏิบัติการ           
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    18 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.0125(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.00625(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี :  เหลือง

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  194.19

        จุดเดือด(0ซ.) :  –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   975

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.73

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 6.7

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  69.9 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) : 8.6-8.8 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   7.94

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =    0.125 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน จะทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลผุพอง และลำคออักเสบ ไอ หายใจถี่ และติดขัด อาจทำให้เป็นโรคภูมิแพ้ ถ้าสัมผัสกับสารนี้ปริมาณมากจะทำให้เกิดเป็นโรคน้ำท่วมปอด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนทำให้เป็นผื่นแดง ปวดแสบปวดร้อน และเป็นแผลไหม้อย่างรุนแรง ผงฝุ่นและสารละลายที่เข้มข้นของสารนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ถ้าสัมผัสผิวหนังที่แตกจะก่อให้เกิดการอักเสบ และดูดซึมผ่านผิวหนัง ทำให้เป็นอันตรายต่อร่างกาย มีผลต่อการทำงานของไต และตับ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินสารนี้เข้าไป สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้ปาก ลำคอ และท้องเป็นแผลไหม้ อาจทำให้ตายได้ ทำให้เจ็บคอ อาเจียน หมดสติ กล้ามเนื้อหดเกร็ง กระหายน้ำ ทำลายการทำงานของตับ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้มองไม่ชัด ตาแดง ปวดตาและเนื้อเยื่อเป็นแผลไหม้อย่างรนแรง ทำลายกระจกตา หรือทำให้ตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง

                – สารนี้มีผลทำลายปอด เลือด ตับ ไต และทางเดินอาหาร

                – สารนี้เป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพันธุ์กรรม

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารรีดิวซ์ ไฮดราซีน วัตถุที่ติดไฟได้ สารอินทรีย์ที่เผาไหม้ได้ หรือสารที่ออกซิไดซ์ได้ง่าย ( กระดาษ ไม้ กำมะถัน อลูมิเนียม หรือพลาสติก )

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน สารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ก๊าซโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :         –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   301

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิง ใช้น้ำปริมาณมาก ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุ ที่สัมผัสกับเปลวไฟ

                – สารนี้ไม่สามารถเผาไหม้ได้แต่สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์ และเมื่อสารนี้สัมผัสกับความร้อนหรือสารที่เผาไหม้ได้ จะลุกจุดติดไฟ ขึ้น และสลายตัวให้ก๊าซ ออกซิเจนซึ่งจะเพิ่มการเผาไหม้

                – ในกรณีที่เกิดเพลิงไหม้การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันและอุปกรณ์ช่วยหายใจ ชนิดที่มีถังอากาศในตัว ( SCBA )

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ไม่ควรเก็บในที่ที่เป็นพื้นไม้

                – หลังจากเคลื่อนย้ายควรทำความสะอาด ร่ายกายให้ทั่วถึง และทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อน

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Potassium chromate

                ประเภทอันตราย :  9

                หมายเลข UN : UN 3077

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บกวาด หรือดูดด้วยเครื่องดูดฝุ่น ขณะที่สารยังชื้นเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของฝุ่น

        – เก็บกวาดใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำตามปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ ให้นำส่งแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ผลกระทบทางชีวภาพ : เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :      –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        49

        DOT Guide :            171

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป  Dipotassium dichloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Potassium monochloride; Potash muriate; Enseal kcl; Chloropotassuril; Kalcorid; Kalitabs; Potavescent; Rekawan; SLOW-K; SPAN-K; Repone k; Chlorovescent; K-contin; Peter-kal; Salt substitute; Potassium chloride kc; Sylvite; K-TAB; Kaon; Kay ciel; Potassium Chloride, Solution, 1 N; Potassium muriate; KCl;

        สูตรโมเลกุล    KCl

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์45

        รหัส IMO     –

        CAS No.      7447-40-7

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.    –

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-211-8

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7447-40-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้ในการผลิตแบตเตอรี่ ใช้ในการหล่อโลหะผสมทองแดง เป็นสารป้องกันการกัดกร่อน
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    2600 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  เป็นของแข็ง, เม็ดเล็ก ๆ

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  74.56

        จุดเดือด(0ซ.) :  1413

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   772

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      1.198

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  33 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5.5-8.5 ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.05

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้สามารถละลายได้เอทิลลีนไดออกไซด์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก คอ และทางเดินหายใจ มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคือง เป็นผื่นแดง และทำให้ผิวหนังแสบไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดอันตราย เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และท้องร่วง

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ปวดแสบปวดร้อน น้ำตาไหล ตาแดง และตาบวมได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่ระบุไว้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไม่มีข้อมูล

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ไม่มีข้อมูล

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไม่มีข้อมูล

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่มีข้อมูล

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง :  ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมกับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศได้ดี

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – เก็บกวาดสารใส่ภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัด
มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  สวมถุงมือป้องกันแบบ Neoprene

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :  ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจน รักษาร่างกายผู้ป่วยให้อบอุ่น และนำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ให้วางศีรษะต่ำกว่าตัว อย่ากระตุ้นทำให้อาเจียน และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :  ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก ถ้ายังมีอาการระคายเคืองอยู่ ให้นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปที่มีอากาศบริสุทธิ์ ฉีดล้างตาด้วยน้ำสะอาด ยกเปลือกตาขึ้นลง ถ้ายังมีอาการระคายเคือง ให้นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :        

        ข้อมูลอื่น ๆ :    –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium bromide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium bromide

        ชื่อเคมีทั่วไป   Bromide salt of potassium

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Bromide of potassium; Tripotassium tribromide;

        สูตรโมเลกุล    KBr

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์44

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      7758-02-3

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.    –

        รหัส RTECS    –

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-830-3

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า JT Baher, Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7758-02-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารในการวิเคราะห์สารในเทคนิค IR spectroscopy
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    3070(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึกของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  119.00

        จุดเดือด(0ซ.) :  1435

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   700

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      2.75

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1 ที่ – 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  70 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   5.5-8.5 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.86

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.205 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายต่อระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีอาการไอ ลำคออักเสบและหายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง วัตถุที่แห้งจะก่อให้เกิดการระคายเคืองเล็กน้อย สารละลายจะทำให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง เจ็บปวด และผิวหนังไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนกินเข้าไปทำให้อาเจียนออกโดยทันที มีอาการปวดท้อง มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ตา และสมอง เป็นผื่นแดง มองเห็นไม่ชัดเจน ประสาทหลอนและอาการโคม่า

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดงและปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : การสัมผัสสารติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ผิวหนังเป็นผื่น(Bromaderma) การกลืนหรือกินเข้าไปบ่อยๆเพียงเล็กน้อยจะทำให้ระบบประสาทส่วนกลางถูกกด มีอาการซึมเศร้า กล้ามเนื้อไม่ประสานงานกัน มีความผิดปกติทางจิต สูญเสียความจำ ระคายเคือง ปวดศีรษะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดส์รุนแรง โบรไมด์ไตรฟลูออไรด์,กรด

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  สารที่เข้ากันไม่ได้ ความชื้น

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของส่วนประกอบโลหะ และฮาโลเจนอิสระ หรือไอออนิกฮาโลเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   200

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ทำให้เป็นอันตรายจากเพลิงไหม้และการระเบิด เมื่อเกิดเพลิงไหม้จะเกิดควันพิษออกมา

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง อาจเป็นอันตรายได้(ฝุ่นของแข็ง)

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุ

                ประเภทอันตราย :  ไม่ระบุ

                หมายเลข UN : ไม่ระบุ

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุ

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ระบายอากาศบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – การดูดหรือกวาดขณะชื้นสามารถใช้ได้เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : 

การใช้ถุงมือควรเป็นถุงมือยาง

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำ และกระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียนทันที ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติและพาไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออกซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ แล้วพาไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        –

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Potassium bromate

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Potassium bromate

        ชื่อเคมีทั่วไป  Bromic acid, potassium salt

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Potassium Bromate Baher Anal ACS Rgnt;

        สูตรโมเลกุล    KBrO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์43

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n

        CAS No.      7758-01-2

        รหัส EC NO.  035-003-00-6

        UN/ID No.    1484

        รหัส RTECS    EF 8725000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-829-8

        ชื่อวงศ์   –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                7758-01-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ใช้ผลิตยา, ใช้ทำบล็อกที่แกะสลัก
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    321(หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :       –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :   –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล : 167.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  370

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   434

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :                        3.27

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  7 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5-9 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.83

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.15 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – อุณหภูมิการสลายตัว >430 องศาเซลเซียส

                – ละลายในน้ำ

                – ไม่ละลายใน Me2CO

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุเมือก ทำให้เกิดอาการไอ หายใจถี่รัว เวียนศรีษะ ปวดศรีษะ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดอาการระคายต่อผิวหนังและเยื่อผิวหนัง เป็นผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป อาจทำให้เวียนศรีษะ คลื่นไส้ ปวดท้อง หมดสติ ผิวหนังสีคล้ำ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง ปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารประกอบของสารนี้กับโบรมีนมีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางและเลือด ซึ่งส่งผลให้ไตและกระเพาะปัสสาวะบาดเจ็บได้ เป็นสารก่อมะเร็งกลุ่ม II และเกิดปฏิกิริยา     

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  การสลายตัวจะไม่เกิดขึ้นถ้ามีการใช้ และการเก็บ ตามข้อกำหนดที่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ไฮโดรเจนโบรไมด์ ออกซิเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  จะทำปฏิกิริยากับสารรีดิวซิ่ง และสารไวไฟ

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : ให้วิธีดับเพลิงให้เหมาะสมกับประเภทเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่เป็นสารไวไฟ

                – สารนี้เป็นออกซิไดซ์ ความร้อนของการเกิดปฏิกิริยากับสารรีดิวส์ซิ่ง หรือสารติดไฟได้ จะทำให้เกิดลุกติดไฟขึ้น

                – ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่เย็น แห้ง และมีฝาปิดมิดชิด

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่ป้องกันการจุดติดไฟ

                – เก็บแยกห่างจากสารรีดิวซ์และสารที่สามารถติดไฟได้

                – ต้องมั่นใจว่ามีการระบายอากาศที่ดีในบริเวณสถานที่ทำงาน

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุและเปิดอย่างระมัดระวัง

                – สารนี้เป็นสารออกซิไดซ์และความร้อนจากการทำปฏิกิริยารีดิวซิ่งหรือสารติดไฟได้ จะทำให้เกิดการติดไฟขึ้น

                – สารนี้สามารถลดอุณหภูมิการจุดติดไฟสารไวไฟ

                – เก็บห่างจากสารไวไฟ สารรีดิวซิ่ง

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : โปแตสเซียมโบรเมท

                ประเภทอันตราย :  5.1

                หมายเลข UN : UN 1484

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ข้อควรระวังความปลอดภัยจากอุบัติเหตุรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

        – อพยพคนออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ควบคุมบุคคลที่ไม่มีการป้องกันอันตรายให้เข้าในบริเวณนี้

        – ต้องแน่ใจว่ามีวิธีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        – อย่าปล่อยให้สารเคมีรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยปราศจากการอนุญาตของหน่วยงานราชการ

        การพิจารณาการกำจัด : ปรึกษากับหน่วยราชการ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วยรักษาคนไข้ให้อบอุ่น ขอคำปรึกษาทางการแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน ให้ขอความช่วยเหลือทางการแพทย์ทันที หรือนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่โดยให้น้ำไหลผ่าน

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้เปิดตากว้าง ๆ ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ เป็นเวลานาน ๆ อย่างน้อย 15 นาที ให้ปรึกษาแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ, น้ำเสีย หรือดิน อาจส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ หากมีการจัดการหรือกำจัดอย่างไม่เหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :     –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        29

        DOT Guide :            140

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Piperidine

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Hexazane; Pentamethyleneimine

        ชื่อเคมีทั่วไป  Piperidine

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Azocyclohexane ; Cyclopentimine ; Hexahydropyridine pentamethyleneimine

        สูตรโมเลกุล    C6H11N

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์42

        รหัส IMO      12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.      110-89-4

        รหัส EC NO.  613-027-00-3

        UN/ID No.    2401

        รหัส RTECS    TM 3500000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        203-813-0

        ชื่อวงศ์   Heterocyclic nitrogen compound

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                110-89-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    520 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        –

        IDLH(ppm) :            –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :   –

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : กลิ่นเอมีน

        นน.โมเลกุล :  85.15

        จุดเดือด(0ซ.) :  106

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   -7

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :      0.8622  

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :   3

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  40 ที่ 29.2 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้หมด

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   3.48

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.287 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สามารถละลายได้หมดในอะซิโตน ไดเอทธิลอีเธอร์ เบนซิน คลอโรฟอร์ม

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปสารนี้จะไปทำลายเยื่อบุเมือกและทางเดินหายใจส่วนบน เกิดอาการชัก กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ ปอดบวม โรคปอดอุดตันเนื่องจากสารเคมี เกิดอาการไอ หายใจติดขัด หายใจถี่รัว ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง และอาจเกิดอันตรายได้ถ้าสารนี้ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการทำลายเยื่อบุทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน กล่องเสียงและหลอดลมใหญ่อักเสบ ไอ หายใจติดขัด เกิดอาการชัก

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ตาแดงเจ็บตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ปกติสารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์อย่างกรง คาร์บอนไดออกไซด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ประกายไฟ เปลวไฟ ความร้อนและแหล่งจุดติดไฟอื่นๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          16

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  365

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   330

         สารดับเพลิง : ให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยหรือใช้แอลกอฮอล์โฟม

                – สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดระเบิดได้หรือที่อุณหภูมิสูงกว่า 16 องศาเซลเซียส

                – ไอระเหยของสารนี้หนักกว่าอากาศ สามารถไหลแพร่กระจายไปสู่แหล่งของจุดติดไฟและลุกติดไฟย้อนกลับมาสู่จุดรั่วไหลหรือภาชนะบรรจุที่เปิดฝาไว้

                – ในระหว่างเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซพิษ ระคายเคืองของไนโตรเจนออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะที่มิดชิด แห้ง เย็น มีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

                – เก็บให้ห่างจากความร้อน ประกายไฟ แหล่งจุดติดไฟ

        สถานที่เก็บ

                – หลีกเลี่ยงการหายใจเอาสารนี้เข้าไป สัมผัสถูกตา ผิวหนังและเสื้อผ้า

                – ใช้เฉพาะในบริเวณตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น

                – ล้างทำความสะอาดหลังจากเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Piperidine

                ประเภทอันตราย :  –

                หมายเลข UN : UN 2401

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : –

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – ปิดกั้นแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดให้ออกห่าง

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

        – ปิดคลุมด้วยทรายแห้ง ปูนขาวหรือโซดาแอซ

        – ใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟเก็บกวาดเพื่อนำไปกำจัดเป็นกากของเสียต่อไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้บ้วนล้างปากด้วยน้ำ ไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – เป็นอันตรายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงพีเอช เป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม เมื่อผสมกับน้ำจะก่อให้เกิดสารผสมที่มีพิาต่อปลา ไม่สามารถเจือจางได้

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :       –

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        19

        DOT Guide :            132

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Phenylhydrazine

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Hydrazinobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป  Phenylhydrazine

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Phenyldiazane; Monophenylhydrazine

        สูตรโมเลกุล    C6H8N2

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์40

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      100-63-0

        รหัส EC NO.  612-023-00-9

        UN/ID No.    2572

        รหัส RTECS    MW 8925000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        202-873-5

        ชื่อวงศ์   Hydrazine Derivative

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า EM SCIENCE A DIVISION OF EM INDUSTRIES

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                100-63-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตยา ทำวัตถุระเบิด และผลิตสารเติมแต่งสำหรับโพลีเมอร์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    188 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        2120 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :            15(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      5(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.1(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    10(ppm)

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ของเหลว

        สี : เหลืองอ่อนใส

        กลิ่น : อะโรมาติก

        นน.โมเลกุล :  108.14

        จุดเดือด(0ซ.) :  244

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   19.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.0978

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  3.7

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  <0.1 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายได้เล็กน้อย

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.42

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =     0.23ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮล์ คลอโรฟอร์ม อีเธอร์และเบนซิน

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เยื่อเมือกและอาจจะทำให้ตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง สารนี้สามารถดูดซึมผ่านร่างกายได้ ในกรณีที่ผิวหนังแพ้ง่าย จะทำให้ผิวหนังอักเสบเปื่อย และพุพอง ผิวหนังซีดเป็นสีน้ำเงิน เนื่องจาก ขาดออกซิเจน, เป็นโรคดีซ่าน , ตับและระบบเลือดทำงานไม่ประสานกัน ทำลายไต

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปอาจจะทำให้ตายได้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อวัยวะเป้าหมาย: ระบบทางเดินหายใจ โลหิต ตับ ไต สารนี้เป็นสารก่อมะเร็ง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียรคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์, LEAD DIORID, LIED ( IV1 OXIDE, PORCHORYL FLUORIDE)

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน, แหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   สารประกอบคาร์บอนออกไซด์ ( COX ) , สารประกอบไนโตรเจนออกไซด์ ( NO2 )

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          88.8

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   320

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้ โฟม แอลกอฮอล์ คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมี

                – สารอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว เนื่องจาก ความร้อนจะเกิด ฟูม/ก๊าซ ที่มีความเป็นพิษสูงมาก

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดซ์

                – เก็บภายใต้ไนโตรเจน

                – เก็บห่างจากความร้อนและเปลวไฟ

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : PHENYLHYDRATINE

                ประเภทอันตราย :  6

                หมายเลข UN : UN 2572

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : –

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล กั้นแยกบริเวณที่สารหกรั่วไหล และกั้นแยกบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องให้ออกจากบริเวณที่สารหกรั่วไหล

        – ปิด / เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟ

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – รหัสของเสีย EPA: D002

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :

                – ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำ และกระตุ้นให้ผู้ป่วยอาเจียนทันที โดยบุคคลากรทางแพทย์ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก และ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 3518

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     –

        วิธีการวิเคราะห์ :       สเปคโตโฟโตมิเตอร์   

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : Glass midget Bubbler

                – อัตราไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.2 ถึง 1 ลิตรต่อนาที

                – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค Visible Absorption Spectrophotometry

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        38

        DOT Guide :            153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Phenylamine

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  N-Phenylbenzenamine

        ชื่อเคมีทั่วไป  Diphenylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ    N-Phenyl Aniline; DFA; No Scald; DPA; Anilinobenzene; (phenylamino)benzene; N,N-diphenylamine; Big dipper; C.I. 10355; Scaldip; Phenylbenzenamine; Diphenylamine ;

        สูตรโมเลกุล    C12H11N

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์40

        รหัส IMO     12305967_10207256021172292_1807016644_n

        CAS No.      122-39-4

        รหัส EC NO.  612-026-00-5

        UN/ID No.    2811

        รหัส RTECS    JJ 7800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        204-539-4

        ชื่อวงศ์   เอมีน

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.t Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                122-39-4         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    3000 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      10(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    10(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึกของแข็ง

        สี : ขาว-เทา, ไม่มีสี หรือน้ำตาล

        กลิ่น : คล้ายดอกไม้

        นน.โมเลกุล :  169.23

        จุดเดือด(0ซ.) :  302

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   53

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.16

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) : 5.8

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.03 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  < 0.1

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.921   

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =        0.144 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     

                – สารนี้เปลี่ยนสีเมื่อถูกแสงแดด

                – สารนี้สามารถละลายได้ในเบนซีน อีเธอร์ และคาร์บอนไดซัลไฟด์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป มีอาการปวดศีรษะ ไอ คลื่นไส้ หายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ทำให้เกิดการแพ้ สารนี้อาจดูดซึมผ่านผิวหนัง ความดันโลหิตสูง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไป จะก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :

                – เป็นสารที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุ์กรรม

                – สารนี้ทำลาย ตับ ไต เลือด หัวใจ กระเพาะปัสสาวะ

                – อวัยวะเป้าหมาย เช่น ตา ผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ ระบบประสาทส่วนกลา

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  สารออกซิไดซ์ เฮกซคลอดรเมลามีน ไตรคลอโรเมทมีน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  แสงแดด

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   ออกไซด์ของไนโตรเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          152

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  630

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   310

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : ออกไซด์ของไนโตรเจน

                – ป้องกันไม่ให้น้ำที่ใช้ดับเพลิงไหลลงสู่ดิน หรือสิ่งแวดล้อม

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากแสง

                – เก็บภาชนะบรรจุไว้ในบริเวณเก็บสารเคมี

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Diphenylamin

                ประเภทอันตราย :  6.1

                หมายเลข UN : UN 2811

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ทำความสะอาดบริเวณหกรั่วไหล เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ล้างบริเวณหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที และนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที และนำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                  – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – อาจส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ หากมีการจัดการหรือกำจัดไม่เหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   22, 78

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : bkbbler containing isopropanol

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 250 ลิตร ที่ 1 ลิตรต่อนาที

                – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค High performance liquid chromatography with UV detection

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        39

        DOT Guide :            –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Oxalsaure

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Ethanedionic acid

        ชื่อเคมีทั่วไป  Oxalic acid

        ชื่อพ้องอื่นๆ    Ethane-1,2-dioic acid; Ethanedioic acid; Oxalic Acid solution, 10% W/V;

        สูตรโมเลกุล    C2H2O4.2H2O

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์38

        รหัส IMO     12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.      144-62-7

        รหัส EC NO.  607-006-00-8

        UN/ID No.    3261, 2922

        รหัส RTECS    RO 2450000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        205-634-3

        ชื่อวงศ์ –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  JT. Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                144-62-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารกัดกร่อนไนโอเนียม เป็นสาร anodizing ใช้หล่อโลหะผสมทองแดง
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    7500 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   –

        IDLH(ppm) :  100(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.20(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :    0.40(ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :    0.20(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      0.40(ppm)

        TLV-C(ppm) :     –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :       –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ :  ผลึก

        สี : ใส,ไม่มีสี

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  126.07

        จุดเดือด(0ซ.) :  149-160

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :   101.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.65

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :  –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  <0.001 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  14ที่  – 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.16     

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =        0.20 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :     –     

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง แผลไหม้ต่อจมูก คอ และทางเดินหายใจ

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ต่อผิวหนัง อาจทำให้ผิวหนังไหม้ได้ สารนี้อาจถูกดูดซึมเข้าร่างกายผ่านทางผิวหนังได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไปจะก่อให้เกิดแผลไหม้ คลื่นไส้ เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ต่อกระเพาะอาหารและลำไส้ อาเจียน หมดสติ และชัก อาจทำให้เกิดการทำลายไต ทำให้พบเลือด ออกปนมากับปัสสาวะ เนื่องจากกรดออกซาลิกจะมีผลต่อการดึงเอา แคลเซียมออกซาเลทออกจากเลือด ซึ่งแคลเซียมออกซาเลทจะไปอุดตันอยู่ที่ไต ซึ่งปริมาณที่รับทางการกินแล้วทำให้เสียชีวิตได้คือ 5-15 กรัม

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ต่อตาและอาจทำให้เกิดผลจากการกัดกร่อนได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : การสัมผัสเรื้อรังจะทำให้ทางเดินหายใจส่วนบนเกิดการอักเสบ การสัมผัสถูกผิวหนังเป็นระยะเวลานานจะทำให้ผิวหนังอักเสบ เกิดภาวะที่นิ้วเปลี่ยนเป็นสีเขียวคล้ำ และอาจเกิดผิวหนังเปื่อยได้ อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อไต และในบางบุคคลอาจพบอาการผิดปกติ ที่ผิวหนังตา ไต และระบบหายใจได้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว :  ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ :  เบส คลอไรด์ ไฮโปคลอไรด์ สารออกซิไดซ์ เฟอพูริวแอลกอฮอล์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง :  ความร้อน แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว :   คาร์บอนไดอกไซด์ คาร์บอนมอนออกไซด์ จะเกิดขึ้นเมื่อสัมผัสกับความร้อน ทำให้เกิดการสลายตัว และอาจทำให้เกิดกรดฟอร์มิก

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –    

        NFPA Code :   310

         สารดับเพลิง : น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้มีความไวไฟสูงและอาจเกิดการระเบิดได้

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – การฉีดโฟมหรือน้ำอาจทำให้เกิดฟองได้

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก NIOSH พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :  

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บห่างจากความร้อน ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : Corrosive Solid , Acidic , Organic , N.O.S. (Oxalic Acid , Dihydrate)

                ประเภทอันตราย :  8

                หมายเลข UN : UN 3261

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 3

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุ

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้ตัดแหล่งจุดติดไฟทั้งหมด ออกไป

        – จัดให้มีการระบายอากาศในพื้นที่

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม และให้กันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากบริเวณ ที่หกรั่วไหล

        – ให้ทำความสะอาดส่วนที่หกรั่วไหลโดยไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของฝุ่นในบรรยากาศ

        – ให้ใช้อุปกรณ์และเครื่องมือ ป้องกันการเกิดประกายไฟ

        – ให้เก็บสารที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ หรือนำไปกำจัด

        – หากสารสัมผัสกับน้ำ ของเหลวที่เป็นกลาง สารที่เป็นด่าง เช่นโซดาไฟ ให้ทำการดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลดัวยวัสดุที่เฉื่อย แล้วเก็บใส่ไว้ในภาชนะบรรจุ สำหรับกากของเสียเคมี

        – อย่าใช้วัสดุไวไฟ เช่นขี้เลื่อย

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำหรือนมปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้เช็ดสารออกจากผิวหนังและ ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ค่อยๆฉีดล้างด้วยน้ำเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  –

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :           

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :        38

        DOT Guide :            154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557