คลังเก็บหมวดหมู่: ของเหลวไวไฟ

Diisopropyl ether

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   Diisopropyl ether; 2,2′-Oxybispropane; 2-Isopropoxypropane

        ชื่อเคมีทั่วไป     Isopropyl ether

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Diisopropyl oxide ; Di-(1-methylethyl) ether ; 1,2′-Oxybispropane Diisopropyl oxide; Isopropyl Ether; DIPE; Isopropyl ether, stabilized with 100-200 ppm BHT;

        สูตรโมเลกุล      C6H14O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์134

        รหัส IMO      12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        108-20-3

        รหัส EC NO.    603-045-00-x

        UN/ID No.      1159            

        รหัส RTECS     TZ 5425000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-560-6

        ชื่อวงศ์                    

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า          –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 108-20-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :  8470 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   162/ – ชั่วโมง (มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     1400(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        500(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      250(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      310(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :   102.2

        จุดเดือด(0ซ.) :  68

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -86

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.7

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.5

        ความหนืด(mPa.sec) :      0.38

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  133 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.9

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    4.18

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.239 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปทำให้มีอาการเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด ปวดศีรษะ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังทำให้เกิดผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปทำให้มีอาการเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด ปวดช่องท้อง คลื่นไส้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาทำให้ตาแดง ปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้เข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจหรือการกินเข้าไป สารนี้ทำให้เกิดการระคายเคืองตาและระบบทางเดินหายใจ ทำให้หมดสติ และสารนี้มีผลเป็นสารเสพติด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : สารนี้สามารถอยู่ในรูปเปอร์ออกไซด์อย่างรวดเร็ว

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ทำปฏิกิริยารุนแรงกับสารออกซิแดนท์ซึ่งสามารถติดไฟและระเบิดได้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :          -28

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    405

        ค่า LEL % :     1.0

        UEL % :        21     

        NFPA Code :    12286140_10207269104979379_187704399_n

         สารดับเพลิง : ผงดับเพลิง , โฟม AF FF , คาร์บอนไดออกไซด์ (ฮาลอน)

                – สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นภาชนะที่สัมผัสถูกไฟ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่เย็น มืด และสถานที่ที่สามารถป้องกันไฟได้

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – แยกเก็บจากสารออกซิแดนท์

                – เก็บสารยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหลให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ปิดแหล่งกำเนิดไฟทุกแห่ง

        – ดูดซับด้วยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่นๆ แล้วนำไปเก็บในที่ที่ปลอดภัย

        – ใช้เครื่องมือที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บสารที่รั่วไหลในภาชนะที่สามารถปิดผนึกได้

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ใส่อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจขณะทำการกำจัดสารที่รั่วไหล

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1400 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งมีCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ให้ผู้ป่วยพักผ่อน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำประมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – เมื่อรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ สารนี้จะลอยอยู่บนพื้นผิวน้ำ

                – สารนี้จะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                – ทำให้แหล่งน้ำดื่มเป็นพิษถ้าปล่อยให้เข้าสู่ดินหรือน้ำในปริมาณมาก

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1618

        OSHA NO. :   7

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg/ 50 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01-0.05 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 0.1 ลิตร, สูงสุด 3 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  14

        DOT Guide :   127

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Dibutylamine

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   N-butyl-1-butanamine

        ชื่อเคมีทั่วไป     Dibutylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Di-n-butylamine; N,N-dibutylamine; N-dibutylamine

        สูตรโมเลกุล      C8H19N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์131

        รหัส IMO       12286089_10207247452278075_1668521281_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        111-92-2

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      2248            

        หัส RTECS     HR 7780000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-921-8

        ชื่อวงศ์                     Saturated aliphatic amine

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 111-92-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่นของฟอมัลดีไซด์ ใช้เป็นสารยับยั้งการกัดกร่อน ใช้เป็นตัวทำละลายใช้ในกระบวนการผลิตยาฆ่าแมลง พอลิเมอร์ ยาง ย้อมผ้า
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 550 , 189 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              >2/ – ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       N/E

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      N/E

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : กลิ่นคล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   129.28

        จุดเดือด(0ซ.) :  159

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : (-60)-(-59)

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.76

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.5

        ความหนืด(mPa.sec) :    0.9

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1.9-2.2 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.31

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  12.2

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.29

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.19 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : สารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปไอระเหยและละอองสามารถทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก คอ ปอด เกิดอาการเจ็บคอ ไอ เจ็บหน้าอก หายใจถี่รัว หายใจติดขัด ที่ความเข้มข้นสูงๆ จะทำให้ปอดบวม และอาจถึงตายได้ รวมทั้งอาการปวดศรีษะ คลื่นไส้ เป็นลมหมดสติ จิตใจกังวล ซึ่งเป็นอาการของระบบประสาท

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ปวดแสบปวดร้อน แผลไหม้ สัมผัสนาน ๆ สารนี้อาจซึมผ่านผิวหนังได้ทำให้เกิดอาการปวดศรีษะ คลื่นไส้ เป็นลมหมดสติ จิตใจกังวล ซึ่งเป็นอาการของระบบประสาท

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหนือกินเข้าไปจะทำให้เกิดแผลไหม้ที่ปาก ลำคอ ระบบทางเดินอาหาร เกิดอาการปวดศรีษะ คลื่นไส้ เป็นลมหมดสติ จิตใจกังวล ซึ่งเป็นอาการของระบบประสาท

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตาอย่างรุนแรง ตาแดง เจ็บตา สัมผัสมากๆ อาจเกิดแผลไหม้ และปวดเจ็บอย่างถาวร สายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ทำลายตา และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง คาร์บอนไดออกไซด์ สังกะสี เหล็กชุบสังกะสี และทองแดง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน และความเย็นสูง ๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           41

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   260

        ค่า LEL % :     1.1     

        UEL % :        10     

        NFPA Code :    320

         สารดับเพลิง : ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม โฟลีเมอร์โฟม คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำฉีดเป็นฝอย

                – สารนี้เป็นสารติดไฟได้

                – สามารถเกิดการระเบิดได้เมื่อผสมกับอากาศที่อุณหภูมิสูงกว่า 41 องศาเซลเซียส

                – ในระหว่างเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ ที่ทำให้ระคายเคืองและเป็นพิษ

                – สารดับเพลิงไห้ใช้ ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม โฟลีเมอร์โฟม คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำฉีดเป็นฝอย

                – ให้อพยพบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากพื้นที่เพลิงไหม้ ควรอยู่หนือลมเพื่อป้องกันควันพิษ

                – ใช้น้ำฉีดดับเพลิงเพื่อหล่อเย็นและปกป้องสารเคมีสัมผัสถูกเพลิงไหม้

                – สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่เย็น และแห้ง มีการระบายอากาศดี

                – เก็บห่างจากแสงสว่างและแหล่งความร้อนต่าง ๆ

        สถานที่เก็บ :

                – บริเวณที่เก็บควรอยู่ห่างจากบริเวณที่ทำงาน

                – ไม่ควรมีการสูบบุหรี่ในบริเวณที่เก็บสาร

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดซ์ สารกัดกร่อย กรดแก่ กรดคลอไรด์หรือปรอท

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – ก่อนการเคลื่อนย้ายควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Di-n-butylamine

                ประเภทอันตราย : 8 , 3

                หมายเลข UN : UN 2248

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – จำกัดพื้นที่จนกว่าจะทำความสะอาดเสร็จ สวมชุดป้องกันให้อยู่ในที่ที่มีการถ่ายเทอากาศ ดับหรือเคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟออกไปทั้งหมด

        – สารหกเล็กน้อย ใช้วัสดุดูดซับคลุมสารที่หกรั่วไหลออกมา และเก็บสารในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม เก็บให้มิดชิด ติดฉลากและล้างบริเวณที่สารหกด้วยน้ำ

        – สารหกปริมาณมาก ติดต่อหน่วยงานฉุกเฉินเพื่อขอคำแนะนำ

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยหมดสติ ล้างปากด้วยน้ำสะอาด อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240 ถึง 300 มิลลิลิตร (8 ถึง 10 ออนซ์) เพื่อเจือจางสารเคมีในกระเพาะอาหาร (หรือนมก็ได้ ) ถ้าผู้ป่วยเกิดอาเจียนเอง ให้ดื่มน้ำอีก แล้วนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างด้วยน้ำสะอาด 20-30 นาที ถ้ามีอาการระคายเคืองให้ฉีดน้ำล้างต่อไป พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ทิ้งเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปื้อนสารไป

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดน้ำไหลผ่าน 20-30 นาที เปิดเปลือกตาขณะล้างด้วย ใช้น้ำเกลือล้างตาถ้าจำเป็น อย่าให้น้ำล้างตาไหลโดนหน้าหรือตา ถ้าอาการระคายเคืองอยู่ให้ล้างตาต่อไป นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2010

        OSHA NO. :    95-3

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ silica gel sorbent tube

                – การวิเคราะห์ตัวอย่างใช้ GC ที่มี flame ionization detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          38

        DOT Guide :               132

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Chlorobenzene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Chlorobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Phenyl Chloride; Benzene chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Benzene chloride; Chlorobenzol; MCB; Monochlorobenzol; Chlorobenzene; Chlorobenzene Mono; Monochlorobenzene

        สูตรโมเลกุล      C6H5Cl

        สูตรโครงสร้าง        สไลด์128

        รหัส IMO   12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        108-90-7

        รหัส EC NO.    602-033-00-1

        UN/ID No.      1134              

        รหัส RTECS    CZ 0175000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-628-5

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           J.T. Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 108-90-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นตัวทำละลาย , ใช้เป็นสารออกซิไดส์ , เป็นตัวทำละลายโพลีคาร์บอเนต
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1110 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      11889.65/ – ชั่วโมง (มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     1000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       75(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        10(ppm)      

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายอัลมอนด์

        นน.โมเลกุล :   112.56

        จุดเดือด(0ซ.) :  132

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -45

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.11

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.88

        ความหนืด(mPa.sec) :     –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  11.8 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     4.01

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.22 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   สารนี้สามารถละลายได้ดีมากในเอทานอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ทำให้เกิดอาการไอ หายใจถี่รัว มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลางทำให้เวียนศีรษะ เกิดการทำงานไม่ประสานกันของกล้ามเนื้อ และหมดสติ

        สัมผัสทางผิวหนัง สัมผัสถูกผิวหนัง  จะก่อให้เกิดการระคายเคือง เกิดผื่นแดงคัน และอาการเจ็บปวด สารนี้สามารถถูกดูดซึมผ่านผิวหนังเข้าสู่ร่างกายได้อย่างช้า ๆ ทำให้เกิดผลต่อระบบของร่างกายได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกินเข้าไปเป็นสาเหตุให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง และมีผลเหมือนกับการหายใจเอาสารนี้เข้าไป

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารจะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา เกิดแผลไหม้และเกิดการทำลายตาได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สัมผัสเรื้อรัง การสัมผัสนาน ๆ หรือเป็นประจำ อาจก่อให้เกิดอาการอักเสบที่ผิวหนัง หรือแผลไหม้บริเวณผิวหนัง รวมถึงตับ ไต ระบบประสาทส่วนกลาง ต่อมไทมัส ม้าม ไขกระดูก อัณฑะ หรือปอดถูกทำลายได้

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้ภาวะปกติของการใช้งานและการเก็บรักษา

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ ไดเมททิล ซัลฟอกไซด์ (Dimethyl sulfoxide)

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ อากาศและสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ ไฮโดรเจนคลอไรด์ และฟอสจีน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            28

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    590

        ค่า LEL % :     1.3

        UEL % :         9.6

        NFPA Code :   12286090_10207280455623138_1983312831_n

        สารดับเพลิง : ผงเคมีแห้ง โฟมโพลีเมอร์ หรือ คาร์บอนไดออกไซด์

                – การระเบิด : ส่วนผสมไอระเหยกับอากาศอาจจะเกิดการระเบิดได้ภายใต้ขีดจำกัดความไวไฟที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

                – ไอระเหยสามารถไหลไปบนพื้นสู่แหล่งจุดติดไฟ และเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – เมื่อสัมผัสกับสารที่เข้ากันไม่ได้จะทำให้เกิดอันตราย

                – ว่องไวต่อประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนออกไซด์ ไฮโดรเจนคลอไรด์ และฟอสจีน

                – ใช้การฉีดน้ำเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

                – ใช้น้ำฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกจากบริเวณที่สัมผัสเพื่อเจือจางส่วนที่หกรั่วไหลให้เป็นส่วนผสมที่ไม่ไวไฟ

                – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่เย็น และแห้งมีการระบายอากาศที่ดี

                – ป้องกันการเกิดความเสียหายทางกายภาพ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากที่ซึ่งอาจเกิดจากอันตรายจากอัคคีภัย และสารออกซิไดส์

                – เก็บไว้ภายนอกอาคารหรือแยกเก็บในห้องเก็บให้เหมาะสม

                – แยกออกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อสายเชื่อม (Bonded) และต่อสายดินขณะถ่ายเทสารนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงประกายไฟฟ้าสถิตย์

                – บริเวณสถานที่เก็บและสถานที่ใช้ต้องกันไว้ไม่ให้มีการสูบบุหรี่

                – ภาชนะบรรจุสารนี้เป็นถังที่เปล่าแต่มีกากสารเคมีที่ตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย หรือของเหลว อาจก่อให้เกิดอันตรายได้

                – ให้ดูป้ายเตือนและข้อควรระมัดระวังอันตรายของสารนี้ทั้งหมด

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : คลอเบนซีน (Chlorobenzene)

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN  1134

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : 20 ลิตร

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – กั้นแยกพื้นที่อันตรายออก

        – ห้ามไม่ให้บุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเข้าไป

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่ถ้าเป็นไปได้

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บรวบรวมส่วนที่หกรั่วไหลใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับด้วยวัสดุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (vermiculite) ทรายแห้ง และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี

        – อย่าใช้วัสดุที่ติดไฟได้เป็นตัวดูดซับ เช่น ขี้เลื่อย

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ ถ้าสารที่หกรั่วไหลยังไม่ลุกติดไฟ ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อสลายกลุ่มไอระเหย เพื่อป้องกันบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกจากการสัมผัสๆ

        การกำจัด : ไม่ควรนำกลับมาใช้ใหม่ ควรนำไปกำจัดในเตาเผาที่ได้ความเห็นชอบจากทางราชการ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

              – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำตามปริมาณมาก ห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      สัมผัสถูกตา ล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที ยกเปลือกตาขึ้นลง นำส่งไปพบแพทย์โดยทันที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้ระเหยเหลือความเข้มข้นปานกลางเมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะสลายตัวทางชีวภาพได้เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้จะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน เมื่อรั่วไหลลงสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะมีการระเหยอย่างรวดเร็ว เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง (half-life) ภายในเวลาน้อยกว่า 1 วัน เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะสลายตัวทางชีวภาพได้เมื่อรั่วไหลลงสู่ดิน

                – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะสะสมสิ่งมีชีวิตได้ เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้จะสลายตัวเหลือความเข้มข้นปานกลางโดยทำปฏิกิริยากับสารไฮดรอกซิล เรดิเคิล ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกับแสง เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง (half-life) ภายในเวลา 1-10 วัน

                – ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม : ค่าความเข้มข้นที่ทำให้ปลาตาบกว่าร้อยละ 50 (LC50)ภายใน 96 ชั่วโมงมีค่าประมาณ 10-100 มิลลิกรัมต่อลิตร

                – สารนี้คาดว่าจะเป็นพิษน้อยมากต่อสัตว์น้ำและพืชน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1003

        OSHA NO. :    07

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg./50 mg.

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

 

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          18

        DOT Guide :               130

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Butanol-iso

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC   2-Methyl-1-propanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Isobutyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      2-Methylpropan-1-ol; Isobutanol; IBA; Isopropyl Carbinol; 2-Methylpropyl Alcohol; I-Butyl alcohol; Butanol-iso; Fermentation butyl alcohol; 1-Hydroxymethylpropane; Isopropyl carbitol; Isobutyl alcohol ;

        สูตรโมเลกุล      C4H10O

        สูตรโครงสร้าง        สไลด์127

        รหัส IMO       12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        78-83-1

        รหัส EC NO.    603-004-00-6

        UN/ID No.      1212             

        รหัส RTECS     NP 9625000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         201-148-0

        ชื่อวงศ์  Primary aliphatic alcohol/primary alkanol butyl alcohol

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 78-83-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้นำไปใช้เป็นตัวทำละลายในการผลิตสีและน้ำมันเคลือบเงา (Lacquers), น้ำยาทำความสะอาดและของไหลในระบบไฮโดรลิก, ใช้ในการผลิต isobutyl esters, สารเติมแต่งในพลาสติก, เชื้อกลิ่น, และน้ำหอม

ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ

         LD50(มก./กก.) : 2460 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      –

        IDLH(ppm) :    1600(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       50(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        50(ppm)      

        TLV-STEL(ppm) :     –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : หวาน

        นน.โมเลกุล :   74.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  108

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -108

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.8

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.6

        ความหนืด(mPa.sec) :     4.7

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  8.8 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  9.8 ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    3.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง จมูกและลำคอ และทางเดินหายใจ การหายใจเข้าไปในปริมาณมากจะก่อให้เกิดอาการไอและหายใจติดขัด, กดระบบประสาทส่วนกลางจะก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้, อาเจียน, เวียนศีรษะ และอาจหมดสติได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผิวหนังเล็กน้อย

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะกดระบบประสาทส่วนกลางมีผลทำให้เกิดอาการคลื่นไส้, อาเจียน, ปวดท้อง เจ็บหน้าอก, ปวดศีรษะ, อ่อนเพลีย, เวียนศีรษะ และถ้ากลืนหรือเข้าไปปริมาณมากจะทำให้เกิดอาการจะเกิดอาการที่รุนแรงขึ้นและอาจจะตายได้ ทำลายตับและไต

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้มีผลทำลายระบบประสาทส่วนกลาง ตับ ไต

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์, โครเมียมไตรออกไซด์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้าสถิตย์, ประกายไฟ, ความร้อน, เปลวไฟ และแหล่งจุดติดไฟอื่น ๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไม่มีข้อมูลระบุ

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            28

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    415

        ค่า LEL % :     1.7

        UEL % :         10.6

        NFPA Code :   

         สารดับเพลิง : ผงเคมีแห้ง โฟมโพลีเมอร์ หรือ คาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ

                – ที่อุณหภูมิหรือสูงกว่าอุณหภูมิ ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิด

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – น้ำจะใช้ดับเพลิงไม่ได้ผลเพราะว่าอาจจะไม่ทำให้สารนี้เย็นลงต่ำกว่าจุดวาบไฟได้

                – สารอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้และการสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนอกไซด์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด เมื่อไม่ได้ใช้งาน

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากความร้อน แหล่งจุดติดไฟ

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                – บริเวณเก็บสารเคมีควรแยกจากบริเวณทำงาน

                – ติดป้ายเตือนอันตราย

                – ติดฉลากที่ภาชนะ

                – เก็บภาชนะบรรจุไว้ในระดับความสูงที่เหมาะสมกับการเคลื่อนย้าย

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้

                – การเก็บสารเคมีควรทำจากวัสดุที่ทนไฟ และไม่ใช่สารไวไฟ

                – มีอุปกรณ์ดับเพลิงหรือทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – ต่อภาชนะบรรจุลงดิน

                – ติดป้ายห้ามสูบบุหรี่

                – อย่าใช้ร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ป้องกันสารเพลิงไหม้ไปในบริเวณทำงาน

                – อย่านำสารที่ใช้แล้วใส่เข้าในบริเวณภาชนะบรรจุใหม่

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Isobutanol หรือ isobutyl alcohol

                ประเภทอันตราย : 3 (ของเหลวไวไฟ)

                หมายเลข UN : UN 1212

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล อย่าสัมผัสกับสารที่หกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วย ดิน, ทราย, หรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสารที่หกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่น ๆ

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1250 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

               –  สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1600 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece และ cartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

              – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) และพร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปสารนี้เป็นสารไวไฟ ควรจะเคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟออกเพื่อเป็นการป้องกัน ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากบริเวณที่ปนเปื้อนหรือแหล่งปนเปื้อนหรือแหล่งปนเปื้อนไปยังที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไปห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำอย่ากระตุ้นให้เกิดอาการอาเจียน ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240 ถึง 300 มิลลิลิตร (8 ถึง 10 ออนซ์) เพื่อเจือจางสารในกระเพาะอาหาร ถ้าผู้ป่วยอาเจียนให้ก้มศรีษะต่ำกว่าสะโพกเพื่อป้องกันการหายใจเอาสารนี้เข้าไป ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำและล้างปากด้วยน้ำซ้ำอีกครั้ง ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยหายใจ (AR) ถ้าหัวใจหยุดเต้นให้ปั้มหัวใจ (CPR) ทันที และ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ถ้ารู้สึกระคายเคืองให้ฉีดล้างด้วยน้ำอุ่นที่ค่อย ๆ ไหลผ่านเป็นเวลา 5 นาที หรือจนกระทั่งสารเคมีออกหมด ถ้าอาการยังไม่ทุเลาให้นำส่งพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตาฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำอุ่นที่ค่อยไหลผ่านเป็นเวลา 20 นาที หรือจนกระทั่งสารเคมีออกหมด และเปิดเปลือกตาให้กว้าง ระมัดระวังไม่ให้น้ำล้างตาเข้าไปในตาอีกข้าง แล้ว นำส่งพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ :ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – จะไม่ก่อเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1401

        OSHA NO. :    07

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg./50 mg.

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 2 ลิตร , 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          17

        DOT Guide :              129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Butan-2-ol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2-Butanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Sec-Butyl Alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Sec-Butanol; Ethyl Methyl Carbinol; 1-Methylpropyl Alcohol; Butan-2-ol; Methylethylcarbinol; 1-Methyl-1-propanol; Hydroxybutane; Methyl-1-propanol;

        สูตรโมเลกุล      C4H10O

        สูตรโครงสร้าง        สไลด์126

        รหัส IMO         12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        78-92-2

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      1120             

        รหัส RTECS     EO 1750000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         201-158-5

        ชื่อวงศ์  Secondary aliphatic alcohol/ Secondary alkanol / Secondary alkyl alcohol

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 71-36-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตสารเมทิลเอทิลดีโตน ใช้เป็นตัวทำละลายสี เป็นสารยึดติด ใช้ในการผลิตเรซิน และแลกเกอร์ ใช้ในการสกัดโปรตีนจากปลา , เป็นส่วนประกอบไนน้ำมันไฮดรอลิก เป็นสารประกอบในการทำสารทำความสะอาดและน้ำหอม
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 6480 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      –

        IDLH(ppm) :    2000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       100(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       100 (ppm)      

        TLV-STEL(ppm) :   –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535:      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : หวาน

        นน.โมเลกุล :   74.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  99.5

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -89

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.808

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.55

        ความหนืด(mPa.sec) :    3.5

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  12 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  12.5 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  เป็นกลาง

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    3.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.331ppm ที่250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   ละลายได้ในเอทานอล อะซีโตน ไดเอทิล อีเธอร์ เบนซีน

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองจมูกและคอ ทำให้มีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ เหนื่อยง่าย วิงเวียน ถ้าได้รับสารปริมาณมาก ทำให้หมดสติ ถ้าสารเข้าไปในปอดทำให้เกิดปอดอักเสบ หัวใจล้มเหลวและอาจทำให้เสียชีวิต

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เป็นผื่นแดง ผิวแห้ว ผิวแตก สารนี้ดูดซึมผ่านผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ปาก คอ และท้อง ทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน งง คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ารุนแรงทำให้หมดสติ และมีอาการโคม่า

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ทำลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบประสาทส่วนกลาง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : โลหะอัลคาไลน์ ทำให้เกิดการระเบิด กรด กรดคลอไรด์ กรดแอนไฮไดรส์ ทำปฏิกิริยาคลอรีน ไอโซไซยาเนต และเอทิลีนออกไซด์ ทำให้เกิดการติดไฟและการระเบิด

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้า การเสียดสี แสงสว่าง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเก็บสารเป็นเวลานานทำให้เกิดสารเปอร์ออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :             24

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    405

ค่า LEL % :     1.7

        UEL % :        9.8

        NFPA Code :   12277993_10207269065218385_747999914_n

        สารดับเพลิง : ให้ใช้โฟมแอลกอฮอล์ ผงเคมีแแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้ไวไฟ ไอระเหยสามารถลุกติดไฟเมื่อมีประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิดที่อุณหภูมิมากกว่า 24 องศาเซลเซียส

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – สารนี้เกิดการสะสมได้

                – น้ำใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล เพราะไม่สามารถทำให้สารเป็นกว่าจุดวาบไฟได้

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ คาร์บอนมอนนอกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้ และใช้น้ำลดการแพร่การจายของไอระเหย

                – ใช้น้ำดับเพลิงควรห่างจากแหล่งจุดติดไฟ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บแยกจากสารไวไฟ การจุดสูบบุหรี่ ไม้ขีดไฟ แหล่งจุดติดไฟ

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ต่อภาชนะบรรจุลงดินและใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                – บริเวณที่เก็บสารควรแยกจากบริเวณที่ทำงาน

                – อย่าเก็บสารไว้ใกล้ทางออก

                – ติดป้ายเตือนอันตราย

                – มีอุปกรณ์กับเพลิงและอุปกรณ์ทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – เก็บไว้ในอุณหภูมิที่บริษัทผู้ผลิตกำหนด

                – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น

                – ควรมีการทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                – ไม่ควรมีการตัด เชื่อม จุดบริเวณใกล้สารเคมี

                – อย่าใช้สารร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุ

                – อย่านำสารที่ใช้แล้วนำกลับไปใส่ภาชนะบรรจุใหม่

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Butanols

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : 1120

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II, III

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – อย่าเข้าไปในบริเวณสารหกรั่วไหลจนกว่าจะมีการทำความสะอาดเสร็จ

        – ทำความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชำนาญ

        – ย้ายแหล่งจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ระบายอากาศบริเวณสารรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน หรือวัสดุดูดซับที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสาร

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ถ้าผู้ป่วยยังมีสติ ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียนให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240-300 ml เพื่อเจือจางสารในท้อง ถ้าเกิดอาการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนสารเคมีออกหมดนำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าสารเคมีออกหมด ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก ถ้าให้น้ำล้างตาไหลมาโดนตาไม่ได้โดนสารเคมี นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

        อื่นๆ : ควรให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน และให้พักให้อบอุ่น

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – จะไม่ก่อเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1401

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg./50 mg.

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 1 ลิตร , 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          16

        DOT Guide :               129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Butan-1-Ol

ส่วนที่ 1: สินค้าทางเคมีและการระบุ บริษัท
         ชื่อเคมี IUPAC   N-Butanol ; 1-Butanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Butyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      N-butyl alcohol; 1-Butanol; Propylcarbinol; Butyric alcohol; Butan-1-ol;

        สูตรโมเลกุล      C4H10O

        สูตรโครงสร้าง        สไลด์125

        รหัส IMO  12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        71-36-3

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      1120             

        รหัส RTECS     RO 1400000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-751-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า Fluka Chemical Corp.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 71-36-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารละลายเคลือบผิวและสารอื่น ๆ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 790 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        24240/ 4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    1400(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       100(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       50(ppm)       

        TLV-STEL(ppm) :     100(ppm)

        TLV-C(ppm) :      50(ppm)

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายเอทานอล

        นน.โมเลกุล :   74.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  116-118

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -89.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.810

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.6

        ความหนืด(mPa.sec) :    2.95

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  4ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  7.7 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    3.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   ละลายใน แอลกอฮอลล์ , อิเทอร์, ตัวทำละลายอินทรีย์ต่างๆ

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะทำให้เกิดการระคายเคือง การหายใจเอาสารที่ความเข้มข้นสูงๆเข้าไป สารนี้จะไปทำลายเยื่อเมือกและทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดอาการไอ แผลไหม้ หายใจติดขัด กล่องเสียงอักเสบ ปวดศีรษะ หายใจถี่รัว คลื่นไส้ และอาเจียน

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้เกิดการระคายเคือง และเกิดการทำลายเยื่อบุที่ผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นแดง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะไปกดระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เกิดอาการง่วงซึม เวียนศีรษะ มึนเมา (inebriation) ความดันโลหิตลดลง หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจผิดปกติ คลื่นไส้ อาเจียน ทำอันตรายต่อตับและไต

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตาและทำลายเยื่อบุตา ทำให้ตาแดง ปวดตา และสายตาพร่ามัวได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อวัยวะเป้าหมายคือระบบประสาทส่วนกลาง ตา ตับ ไต โลหิต และระบบประสาทหู

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร ไม่เกิดขึ้น

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : แอซิคลอไรด์ แอซิดแอนไฮไดรด์ สารออกซิไดซ์ สารรีดิวซ์ ทองแดง อัลลอยด์ของทองแดง โลหะอัลคาไลด์ อลูมิเนียม

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ฟูม/ก๊าซพิษของคาร์บอนมอนนอกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            34

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     342

        ค่า LEL % :     1.4

        UEL % :        11.2   

        NFPA Code :   12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง หรือโฟมที่เหมาะสม

                – อัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างไอระเหยของสารและอากาศ สามารถก่อให้เกิดการระเบิดได้ที่อุณหภูมิสูงกว่า 35 องศาเซลเซียส

                – สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ

                – ไอระเหยของสารนี้อาจเกิดการแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดการติดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุอาจเกิดการระเบิดขึ้นได้เมื่อถูกเพลิงไหม้

                – ใช้การฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้

                – น้ำจะมีประสิทธิภาพในการฉีดหล่อเย็น แต่จะไม่มีผลในการดับเพลิง

                – ขั้นตอนการดับเพลิงรุนแรง ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันสารเคมีสัมผัสผิวหนัง และตา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็น และแห้ง

                – เก็บห่างจากความร้อน ประกายไฟ และเปลวไฟ

                – ล้างทำความสะอาดให้ทั่วภายหลังจากการเคลื่อนย้าย

        สถานที่เก็บ :

                – ใช้เฉพาะในตู้ดูดควันจากสารเคมี

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดส์

                – เก็บในบริเวณที่ป้องกันไฟ

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหลให้อพยพออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้ตัดหรือแยกแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออก

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) รองเท้าบูทยางและถุงมือยาง

        – ปิดคลุมสารที่หกรั่วไหลด้วยถ่านกัมมันต์ (Activated carbon)

        – เก็บกวาดส่วนที่หกรั่วไหลและใส่ในภาชนะที่ปิดมิดชิดและเคลื่อนย้ายออกไว้ภายนอกอาคาร

        – ระบายอากาศในพื้นที่และล้างบริเวณที่หกรั่วไหลหลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – การพิจารณาการกำจัดให้ เผาไหม้สารเคมีนี้ในเตาเผาสารเคมีที่มีอุปกรณ์หัวเผาขั้นที่สอง และอุปกรณ์กำจัดมลพิษ

        – ให้ระมัดระวงการเผาไหม้ เนื่องจากสารนี้เป็นสารไวไฟมาก

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n 

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1250 ppm ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งมี Cartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1400 ppm ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และ Cartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight-fitting facepiece และCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป และผู้ป่วยยังมีสติอยู่ในบ้วนปากด้วยน้ำ แล้วนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้า และรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก และให้ล้างทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปรื้อนก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที และให้มั่นใจว่าฉีดล้างตาสะอาดทั่วถึงโดยใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออกขณะทำการล้าง

        อื่นๆ :ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เป็นพิษต่อปลา และแพลงตอน

                – ไม่ส่งผลอันตรายต่อระบบบำบัดน้ำทิ้ง หากมีการใช้และจัดการสารเคมีอย่างเหมาะสม

                – สารนี้สามารถเกิดการสลายตัวทางชีวภาพได้ดี

                – สารนี้มีทบอโนมิในการสะสมทางชีวภาพต่ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1450

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg./50 mg.

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 1 ลิตร , 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          16

        DOT Guide :               129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Bromobenzene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Monobromobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Bromobenzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Phenyl bromide

        สูตรโมเลกุล      C4H9Br

        สูตรโครงสร้าง        สไลด์124

        รหัส IMO          12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        108-86-1

        รหัส EC NO.    602-060-00-9

        UN/ID No.      2514              

        รหัส RTECS    CY 900000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-623-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T.Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 108-86-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้สารวิเคราะห์และทดสอบทางเคมี (reagent, ในห้องปฏิบัติการเคมี)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 2699 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      20411/- ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :  –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัวของอะโรมาติก

        นน.โมเลกุล :   157.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  156

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -31

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.50

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    5.41

        ความหนืด(mPa.sec) :   1.124

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  10ที่ 400ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   6.42

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.16 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ, ทำให้เกิดอาการไอ, หายใจถี่รัว, มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลางทำให้เวียนศรีษะ, สูญเสียการควบคุม, หมดสติ, สารนี้อาจจะดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือดทำให้เกิดอาการคล้ายกับการกินหรือการกลืนเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง, ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง มีอาการผื่นแดง, อาการคัน, และเจ็บปวด, สารนี้อาจจะถูกซึมผ่านผิวหนังได้ทำให้เกิดอันตรายต่อระบบในร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดศรีษะ เสียงแหบ ระบบประสาทส่วนกลางถูกกด

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง, ผื่นแดง, และเจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้มีผลทำลายระบบประสาทส่วนกลาง ปอด ทรวงอก ระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้ การเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ออกซิไดซ์ของคาร์บอนเหมือนกับไอออกนิค หรือการออกซิไดซ์ ฮาโลเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :             51

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :     566

        ค่า LEL % :     0.5

        UEL % :         2.5    

        NFPA Code :   12309167_10207280591466534_937291503_n

         สารดับเพลิง : ให้ฉีดน้ำเป็นฝอย, สารเคมีแห้ง, แอลกอฮอล์โฟม, หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อปิดคลุมไฟและฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้ และฉีดสกัดส่วนที่หกรั่วไหลหรือไอระเหยที่ยังไม่ติดไฟ ให้ออกห่างจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้

                – ในขณะเกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังออกซิเจนในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

                – ส่วนผสมระหว่างไอระเหยกับอากาศอาจทำให้ระเบิดได้ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                – ไอระเหยสามารถไหลไปบนพื้นสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – สัมผัสกับสารออกซิไดซ์อย่างแรง จะทำให้เกิดเพลิงไหม้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกแน่นอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

                – ว่องไวต่อประจุไฟฟ้าสถิต

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

                – ให้เก็บออกห่างจากพื้นที่ที่อาจจะเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลันได้ แยกเก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บไว้ภายนอกอาคารหรือการแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อเชื่อมและต่อลงดินเมื่อมีการถ่ายเทเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟฟ้าสถิตย์

                – ห้ามสูบบุหรี่ในพื้นที่ที่เก็บและใช้งาน ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ, รวมไปถึงการการระบายอากาศที่มีการป้องกันการระเบิด

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้จะเป็นอันตรายเมื่อถังเปล่าเนื่องจากกากสารเคมีตกค้าง เช่น ไอระเหย ของเหลว

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Bromobenzene

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 2514

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้ระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล

        – กั้นแยกพื้นที่อันตรายออก ห้ามไม่ให้บุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเข้าไป

        – เก็บรวบรวมของเหลวใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือวัตถุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (varmiculite) ทรายแห้ง (earth) และเก็บ.ใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียสารเคมี, อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่ถ้าเป็นไปได้

        – อย่าฉีดล้างลงไปท่อระบายน้ำ

        – ถ้าสารที่หกรั่วไหลยังไม่ลุกติดไฟ ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อสลายกลุ่มไอระเหยเพื่อป้องกันอันตรายบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกห่างจากการสัมผัส

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์, ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด, ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย, นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง, ให้ฉีดล้างทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก, นำส่งไปพบแพทย์, ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ ๆ

        อื่นๆ :   ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสียหรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          17

        DOT Guide :               129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Amyl alcohol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Pentanols

        ชื่อเคมีทั่วไป     Amyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      N-Pentanol; Pentyl alcohol; 1-Pentanol; N-pentyl alcohol; 1-Pentol; Pentan-1-ol; N-butylcarbinol; Pentanol-1; Pentasol; Primary amyl alcohol; N-amyl alcohol; Amyl alcohol, normal; N-pentan-1-ol; Amyl Alcohol (1-Pentanol);

        สูตรโมเลกุล      C5H12O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์118

        รหัส IMO      12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        71-41-0

        รหัส EC NO.    603-006-00-7

        UN/ID No.      1105             

        รหัส RTECS     SB 9800000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-752-1

        ชื่อวงศ์  Alcohol

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T. Baker INC

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 71-41-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นสารในห้องปฏิบัติการ (Laboratory Reagent)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 2200 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      –

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น :

        นน.โมเลกุล :   88.15

        จุดเดือด(0ซ.) :  133

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -74

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.81

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.0

        ความหนืด(mPa.sec) :    3.68

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  2ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  1.7 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  0.277

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.277 ppm ที่ -250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ, ปวดศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, มึนงง, ไอ, หายใจติดขัด, อ่อนเพลีย, หมดสติ

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ถ้าสัมผัสไปนานๆทำให้ผิวหนังเป็นแผลไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป ทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง ท้องร่วง ระคายเคืองกระเพาะอาหารและลำไส้ มีอาการโคม่า

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดอาการระคายเคือง ถ้าสัมผัสไปนานๆทำให้แสบไหม้ ทำลายตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชีรายชื่อของ Z LIST ,IARC , NTP , OSHA REG

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง, กรดไนตริก, กรดซัลฟูริก โลหะอัลคาไล โลหะอัคลาไลน์เอิรธ์

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน, เปลวไฟ, แหล่งจุดติดไฟอื่นๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            44

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    299

        ค่า LEL % :     1.2

        UEL % :        10     

        NFPA Code :   12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : โฟมแอลกอฮอล์, ผงเคมีแห้ง, คาร์บอนไดออกไซด์

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ และสารออกซิไดซ์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Amyl alcohols

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 1105

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีปฏิบัติเมื่อสารหกรั่วไหล : เคลื่อนย้าย/ปิดแหล่งจุดติดไฟทั้งหมด

        – หยุดการรั่วไหลถ้าสามารถทำได้อย่างปลอดภัย

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดการฟุ้งกระจายของไอระเหย

        – ใช้วัสดุดูดซับ เช่น ทราย ดูดซับสารที่หกรั่วไหลสำหรับนำไปกำจัด สารที่ดูดซับแล้วเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป นำส่งไปพบแพทย์ ถ้าผู้ป่วยมีสติให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ ทำให้อาเจียน

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที ถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนออก ทำความสะอาดก่อนนำมาใช้

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆอย่างน้อย 15 นาที

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – เป็นพิษอย่างมากต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          16

        DOT Guide :                 –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

2-Propanol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2 – Propanol ; Isopropanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Isopropyl alcohol ; 2 – Propyl alcohol ; Sec – propyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      IPA; Sec-propanol; Rubbing Alcohol; Dimethylcarbinol; Sec-Propyl alcohol; Alcohol; Propan-2-ol; I-Propanol; 2-Hydroxypropane; Alcojel; Alcosolve; Avantin; Chromar; Combi-schutz; Hartosol; Imsol a; Isohol; Lutosol; Petrohol; N-propan-2-ol; Propol; Spectrar; Sterisol hand disinfectant; Takineocol; Alcosolve 2; DuPont Zonyl FSP Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSJ Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSA Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSN Fluorinated Surfactants; Isopro pyl Alcohol (Manufacturing, strong-acid process);

        สูตรโมเลกุล      C3H8O

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์112

        รหัส IMO     12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        67-63-0                  

        รหัส EC NO.    603-003-00-0

        UN/ID No.      1219            

        หัส RTECS     NT 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-661-7

        ชื่อวงศ์  Secondary อะลิฟาติกแอลกอฮอล์

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 67-63-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเครื่องสำอางค์ และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 4710 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          41650/ – ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    2000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         400(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      500(ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        400(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      500(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535:      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เหมือนยางแอลกอฮอล์ , ฉุน

        นน.โมเลกุล :   60.09

        จุดเดือด(0ซ.) :  82.3

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -88.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.8044

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.1

        ความหนืด(mPa.sec) :    2.4

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  33 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  2.45

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.408 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปไม่เป็นอันตรายมาก แต่เกิดการระคายเคืองจมูกและลำคอ และระบบทางเดินหายใจ อาการที่แสดงต่อมาเมื่อได้รับสารเพิ่มขึ้น คือ ปวดหัว , คลื่นไส้ , วิงเวียน , อาเจียน ถ้าได้รับปริมาณสูงขึ้นอาจทำให้หมดสติหรือตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังไม่ทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณผิวหนังในกรณีที่สัมผัสในเวลาอื่นๆ แต่ถ้าสัมผัสนาน จะทำให้ผิวหนังแห้งและผิวหนังแตก

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนเข้าไปปริมาณมากทำให้อาการทรุดหนักลงไป อาการคล้ายการสัมผัสทางหายใจ ซึ่งควรนำไปพบแพทย์ อาการคือจะอาเจียน และมีอันตรายเกี่ยวกับปอด

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาทำให้เกิดการระคายบริเวณตา ถ้าสัมผัสถูกสารที่ 400 ppm ประมาณ 3 – 5 นาที ถ้าสัมผัสที่ 800 ppm จะทำให้เกิดแผล อาจจะไม่เป็นอันตรายต่อคน แต่จากการทดลองเป็นอันตรายต่อสัตว์ เมื่อได้รับในอัตราที่สูง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :

                – อาจจะไม่เป็นอันตรายต่อคน แต่จากการทดลองเป็นอันตรายต่อสัตว์ เมื่อได้รับในอัตราที่สูง

                – สารทำลายระบบประสาท ไต ระบบหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ระบบทางเดินอาหาร

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้เสถียร เกิดรูปเปอร์ออกไซด์ในความมืด และไวต่อแสงแดด ทำให้อยู่ในรูปของคีโตนเมื่อเกิดปฏิกิริยาเปอร์ออกซิเดรีน

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์อย่างแรง (โครเมียมไตรออกไซด์ , เปอร์คลอเรต , เปอร์ออกไซด์) ซึ่งเสี่ยงต่อการติดไฟ , ระเบิด กรดเข้มข้น (กรดไนตริก , กรดซัลฟูริก , โอลีน) ปฎิกริยาที่รุนแรงและอันตราย โลหะอัลคาไลน์ และอัลคาไลน์เอริท์ (ไม่เกิดการติดไฟได้ก๊าซไฮโดรเจน) อลูมิเนียม เกิดปฏิกริยารุนแรง และไม่ให้ความร้อนโครโตนานดีไฮน์หรือฟอสจีน , โพแทลเซี่ยลบิวทิวออกไซด์ , ไตรไนโตรมีเทป

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : เปลวไฟ , ประกายไฟ , ประจุไฟฟ้า , ความร้อน และสารติดไฟ , แสง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : แอนไฮดริส โพรพานอลไม่กัดกร่อนเหล็ก , สเตนเลท , เหล็กกล้า , ทองแดงและบรอนซ์ และอัลลอยด์ที่อุณหภูมิปกติ

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            11.7

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   399

        ค่า LEL % :     2

        UEL % :         12    

        NFPA Code :    12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์ , ผลเคมีแห้ง , แอลกอฮอล์โฟม , พอลิเมอร์โฟม แต่น้ำจะไม่มีประสิทธิภาพในการดับเพลิง เพราะไม่ทำให้อุณหภูมิของสารต่ำกว่าจุดวาบไฟได้ นิยมที่สุดคือ โฟม

                – สารนี้ทนต่อแรงกระแทก , ไวต่อประจุไฟฟ้า

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

                – สารที่ได้จากการเผาไหม้ : คาร์บอนมอนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์ และสารพิษอื่นๆ

                – ควรหยุดสารที่รั่วไหลก่อนจะดับไฟ ถ้าหยุดสารไม่ได้ให้ใช้น้ำในการดับเพลิง

                – ในการดับเพลิงควรอยู่ในที่ที่ปลอดภัย อยู่เหนือลม เพื่อป้องกันสารพิษปลิวเข้าตา

                – ถ้าเป็นไปได้ควรนำภาชนะบรรจุสารออกไปจากบริเวณนั้น

                – ในกรณีสารรั่วไหลแต่ยังไม่ไหม้ ควรใช้น้ำฉีดเป็นฝอยกว้างๆ หรือใช้น้ำช่วยในการเจือจางฉีดให้ห่างจากเปลวไฟ หรือสารติดไฟ

                – ผู้ดับเพลิงควรมีความชำนาญ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดส์ , การกัดกร่อนและสารไม่เข้ากัน หรือกรดเข้มข้น , กรดแอนไฮไดรส์ , ธาตุอัลคาไลฟ์ , ธาตุอัลคาไลน์เอริท (โลหะ ควรจะปิดฉลากไว้ด้วยและเขียนคุณสมบัติของสารไว้ด้วย)

                – เก็บให้ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้ ความร้อน เปลวไฟ แสงแดด

        สถานที่เก็บ :

                – สถานที่เก็บไม่ควรมีสื่อที่สามารถติดไฟได้ เช่น บุหรี่ ไม้ขีดไฟ ไฟ

                – ควรปิดฝาภาชนะเมื่อไม่ใช้

                – ไม่ควรนำสารที่เหลือจากการใช้กลับมาใส่ภาชนะบรรจุอีก และควรปิดฉลากไว้ด้วย

                – สารนี้ไวไฟ เป็นสารพิษ และสารระคายเคืองตา

                – ก่อนเก็บสิ่งสำคัญคือควรมีอุปกรณ์ป้องกันและทำความสะอาดให้ดี

                – บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีควรทราบถึงคุณสมบัติของสาร

                – การจัดเก็บควรมีคู่มือการปฐมพยาบาล

                – วิธีการดับเพลิง หรือวิธีการกำจัดกรณีรั่วไหล หลีกเลี่ยงการเกิดไอ และไม่ให้ไอรั่วไหลออกไป อย่าให้สารกระเด็น

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Isopropanol

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 1219

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม I

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยดิน , ทราย , ฝุ่น หรือสารที่มีคุณสมบัติการดูดซับได้

        – จัดหาอุปกรณ์ป้องกันและจัดเก็บสารที่รั่วไหลใส่ภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัด

        – จัดเก็บสารที่รั่วไหล นำเอาสารที่เป็นของเหลวกลับมาใช้ใหม่ หรือจัดเก็บไว้ถ้าสามารถทำได้

        – หยุดการรั่วไหลของสารถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงจากอันตราย

        – เคลื่อนย้ายสารที่ทำให้เกิดความร้อน

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        การกำจัด : ไม่ระบุไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

                 แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 200 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดี และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 30 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดี และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และCanister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมีCanister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                   – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปจากบริเวณเปลวไฟของสาร เคลื่อนย้ายสารและผู้ป่วยไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์ รีบนำไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ไม่ควรให้สิ่งใดเข้าปากในกรณีผู้ป่วยหมดสติ ควรล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ควรให้ผู้ป้วยดื่มน้ำ 8-10 แก้วหรือ 240-300 มิลลิลิตร เพื่อนำไปเจือจางสารในช่องท้อง ถ้าผู้ป่วยเกิดอาเจียนขึ้นมาให้ผู้ป่วยนอนลาดกับพื้น และให้ดื่มน้ำอีกแล้วรีบนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำไปส่งพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ควรล้างตาด้วยน้ำอุ่นทันที โดยในน้ำไหลผ่านประมาณ 20 นาที หรือจนกระทั่งสารเคมีออกหมดแล้ว ควรเปิดเปลือกตา ดูแลอย่าให้มีสิ่งเจือปนในน้ำเข้าตาอีก แล้วรีบนำไปพบแพทย์

        อื่นๆ :

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – สารนี้สามารถเกิดการย่อยสลายทางชีวภาพได้

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1401  

        OSHA NO. :    109

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :

                  – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100mg/50 mg

                  – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค GC ที FID detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :  16

        DOT Guide :   129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

2-Butanol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2-Butanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Sec-Butyl Alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Sec-Butanol; Ethyl Methyl Carbinol; 1-Methylpropyl Alcohol; Butan-2-ol; Methylethylcarbinol; 1-Methyl-1-propanol; Hydroxybutane; Methyl-1-propanol;

        สูตรโมเลกุล      C4H10O

        สูตรโครงสร้าง    12312136_10207297058758206_2022294277_n

        รหัส IMO   12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        78-92-2

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      1120            

        รหัส RTECS     EO 1750000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         201-158-5

        ชื่อวงศ์  Secondary aliphatic alcohol/ Secondary alkanol / Secondary alkyl alcohol

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 78-92-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตสารเมทิลเอทิลดีโตน ใช้เป็นตัวทำละลายสี เป็นสารยึดติด ใช้ในการผลิตเรซิน และแลกเกอร์ ใช้ในการสกัดโปรตีนจากปลา , เป็นส่วนประกอบไนน้ำมันไฮดรอลิก เป็นสารประกอบในการทำสารทำความสะอาดและน้ำหอม
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 6480 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          –

        IDLH(ppm) :    2000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        100(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       100(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : หวาน

        นน.โมเลกุล :   74.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  99.5

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -89

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.808

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.55

        ความหนืด(mPa.sec) :  3.5

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  12 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  12.5 ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  เป็นกลาง

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.331 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : ละลายได้ในเอทานอล อะซีโตน ไดเอทิล อีเธอร์ เบนซีน

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองจมูกและคอ ทำให้มีอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ เหนื่อยง่าย วิงเวียน ถ้าได้รับสารปริมาณมาก ทำให้หมดสติ ถ้าสารเข้าไปในปอดทำให้เกิดปอดอักเสบ หัวใจล้มเหลวและอาจทำให้เสียชีวิต

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เป็นผื่นแดง ผิวแห้ว ผิวแตก สารนี้ดูดซึมผ่านผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง ปาก คอ และท้อง ทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน งง คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ารุนแรงทำให้หมดสติ และมีอาการโคม่า

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาแดง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ทำลายตา ผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบประสาทส่วนกลาง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : โลหะอัลคาไลน์ ทำให้เกิดการระเบิด กรด กรดคลอไรด์ กรดแอนไฮไดรส์ ทำปฏิกิริยาคลอรีน ไอโซไซยาเนต และเอทิลีนออกไซด์ ทำให้เกิดการติดไฟและการระเบิด

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้า การเสียดสี แสงสว่าง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : เมื่อเก็บสารเป็นเวลานานทำให้เกิดสารเปอร์ออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           24

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  405

        ค่า LEL % :     1.7     

        UEL % :        9.8     

        NFPA Code :    12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้โฟมแอลกอฮอล์ ผงเคมีแแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์

                – สารนี้ไวไฟ ไอระเหยสามารถลุกติดไฟเมื่อมีประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิดที่อุณหภูมิมากกว่า 24 องศาเซลเซียส

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – สารนี้เกิดการสะสมได้

                – น้ำใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล เพราะไม่สามารถทำให้สารเป็นกว่าจุดวาบไฟได้

                – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ คาร์บอนมอนนอกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้ และใช้น้ำลดการแพร่การจายของไอระเหย

                – ใช้น้ำดับเพลิงควรห่างจากแหล่งจุดติดไฟ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

                – เก็บแยกจากสารไวไฟ การจุดสูบบุหรี่ ไม้ขีดไฟ แหล่งจุดติดไฟ

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – ต่อภาชนะบรรจุลงดินและใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                – บริเวณที่เก็บสารควรแยกจากบริเวณที่ทำงาน

                – อย่าเก็บสารไว้ใกล้ทางออก

                – ติดป้ายเตือนอันตราย

                – มีอุปกรณ์กับเพลิงและอุปกรณ์ทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                – เก็บไว้ในอุณหภูมิที่บริษัทผู้ผลิตกำหนด

                – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น

                – ควรมีการทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                – ไม่ควรมีการตัด เชื่อม จุดบริเวณใกล้สารเคมี

                – อย่าใช้สารร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุ

                – อย่านำสารที่ใช้แล้วนำกลับไปใส่ภาชนะบรรจุใหม่

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Butanols

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 1120

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II, III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – อย่าเข้าไปในบริเวณสารหกรั่วไหลจนกว่าจะมีการทำความสะอาดเสร็จ

        – ทำความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชำนาญ

        – ย้ายแหล่งจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ระบายอากาศบริเวณสารรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน หรือวัสดุดูดซับที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสาร

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

              – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 2000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมCartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ถ้าผู้ป่วยยังมีสติ ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียนให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240-300 ml เพื่อเจือจางสารในท้อง ถ้าเกิดอาการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนสารเคมีออกหมดนำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :     ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าสารเคมีออกหมด ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก ถ้าให้น้ำล้างตาไหลมาโดนตาไม่ได้โดนสารเคมี นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

        อื่นๆ : ควรให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน และให้พักให้อบอุ่น

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                  – จะไม่ก่อเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
        NMAM NO. :  1401  

        OSHA NO. :    ไม่ระบุไว้

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :

                  – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg/50 mg

                  – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                  – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 1 ลิตร สูงสุด 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          16

        DOT Guide :              129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557