คลังเก็บหมวดหมู่: ของเหลวไวไฟ

1-Butylamine

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   1-Butanamine

        ชื่อเคมีทั่วไป     N-butylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ      1-Aminobutane; Aminobutane; Butyl amine; Norralamine; Mono-n-butylamine; Tutane; Monobutylamine

        สูตรโมเลกุล      C4H11N

        สูตรโครงสร้าง    12305386_10207280619627238_280380336_n

        รหัส IMO  12286089_10207247452278075_1668521281_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        109-73-9

        รหัส EC NO.    612-005-00-0

        UN/ID No.      1125            

        รหัส RTECS     EO 2975000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-699-2

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T.Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 109-73-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 366 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          800/ 4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    300(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        5(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       5(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :       5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535:     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :   เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   73.4

        จุดเดือด(0ซ.) :  78

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -49

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.74

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.5

        ความหนืด(mPa.sec) :  0.5

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  82 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  12.6 ที่ 250ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.00

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและลำคอ ทำให้ปวดศีรษะ และน้ำท่วมปอดได้ ถ้าได้รับไอระเหยที่ระดับความเข้มข้นสูงจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด ไอ เจ็บหน้าอก เวียนศีรษะ เกิดอาการชักกระตุกอย่างรุนแรง ง่วงซึม และอาจหมดสติได้ แต่ตามสมบัติของสารนี้จะทำให้เกิดการระคายเคืองเมื่อมีสถานะเป็นไอระเหย

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังไหม้ สารนี้สามารถถูกดูดซึมผ่านผิวหนัง ซึ่งทำให้เกิดอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไปได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะมีอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไป และทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณปาก คอ รวมทั้งกระเพาะอาหารและลำไส้ ซึ่งถ้าได้รับปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอของสารจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ทำให้เกิดการทำลายตา และทำให้สูญเสียการมองเห็นได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การสัมผัสเรื้อรัง การสัมผัสถูกผิวหนังนานๆหรือบ่อยๆจะทำให้เกิดอาการผิวหนังอักเสบ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความคงตัวภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ สารเปอร์คลอริวฟลูออไรด์ และกรดเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การลุกไหม้จะทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           -12

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  312

        ค่า LEL % :     1.7     

        UEL % :        9.8     

        NFPA Code :    12286090_10207280455623138_1983312831_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟมหรือคาร์บอนไดออกไซด์

        การระเบิด : ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศจะระเบิดได้ภายใต้ขีดจำกัดความไวไฟที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ ไวต่อประจุไฟฟ้าสถิต

                – ไอระเหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทเมื่อสัมผัสถูกความร้อนอาจทำให้เกิดการระเบิดขึ้นได้

                – การสัมผัสกับสารออกซิไดซ์มากๆ อาจจะทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

                – อย่าใช้การฉีดน้ำเป็นลำตรง ลำน้ำจะทำให้สารเคมีและเปลวไฟแพร่กระจาย

                – ให้ใช้การฉีดน้ำเป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหรือหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

                – การเคลื่อนย้ายและการเก็บรักษา มีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – แยกเก็บจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บภายนอกอาคารหรือแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ให้ออกห่างจากพื้นที่ใดๆที่อาจเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลัน

                – มีการระบายอากาศเพื่อป้องกันการเกิดระเบิด

                – ไม่ควรสูบบุหรี่บริเวณที่เก็บสารเคมีนี้

                – ให้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อเชื่อมหรือต่อลงดินเพื่อป้องกันการเกิดประกายไฟจากไฟฟ้าสถิตย์

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้ที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย และของเหลว อาจทำให้เกิดอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : BUTYLAMINE

                ประเภทอันตราย : 3.2 , 8

                หมายเลข UN : UN 1125

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้ทำการกันแยกบริเวณพื้นที่ที่อันตราย และกันบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องห้ามเข้าในบริเวณนี้

        – ให้เก็บรวมรวมของเหลวที่รั่วไหล และนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถ้าเป็นไปได้

        – ให้ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยวัสดุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย(vermiculite) ทรายแห้ง ดิน และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสีย

        – อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย ในการดูดซับสาร

        – อย่าเททิ้งลงท่อระบายน้ำ

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดไอระเหย

        – แนะนำให้ใช้ตัวทำละลายของสารนี้เป็นตัวดูดซับเมื่อมีการหกรั่วไหล

        การกำจัด : สารที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้จะไม่ปลอดภัย จะต้องกำจัดเช่นเดียวกับกากของเสียอันตรายและส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัดของเสีย กระบวนการใช้หรือปนเปื้อนของสารนี้จะต้องเป็นไปตามแนวทางการจัดการของเสียตามกฎระเบียบข้อบังคับของทางราชการ การจัดการภาชนะบรรจุและที่มิได้ใช้แล้วจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับที่กฎหมายของส่วนกลางและท้องถิ่น

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12282808_10207269089578994_74654600_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                 – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50      

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 300 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไปอย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ ห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

                – ให้ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าให้สะอาดก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

                – นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกตา :     ถ้าสัมผัสถูกตา : ให้ค่อยๆฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ : กรณีการสัมผัสสารในปริมาณมากให้ทำการติดตามผลของการเกิดอาการน้ำท่วมปอดในระยะยาว

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
        ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน

                – สารนี้จะสลายตัวทางชีววิทยาเหลือความเข้มข้นปานกลางเมื่อรั่วอยู่ในดิน

                – สารนี้ระเหยในความเข้มข้นปานกลาง เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าจะไม่สะสมในสิ่งมีชีวิต

                – สารนี้มีค่าความเข้มข้นทางชีวภาพ(BCF) โดยประมาณน้อยกว่า 100

                – สารนี้คาดว่ามีการระเหยอย่างรวดเร็ว เมื่อรั่วไหลลงสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าสามารถสลายตัวได้ง่ายโดยทำปฏิกิริยาเคมีเมื่อถูกแสงทำให้เกิดไฮดรอกซิล เรดิเคิล เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง(halrtife) ภายในเวลาน้อยกว่า 1-10 วัน เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าสามารถเอาออกจากบรรยากาศได้ง่ายโดยเกิดการตกตะกอนแบบเปียก

                – ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม : ไม่พบข้อมูลที่ต้องการค้นหา

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2012  

        OSHA NO. :    ไม่ระบุไว้

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :

                  – การเก็บตัวอย่างใช้ : หลอดชนิด Sillica gel tube 150 mg /75 mg

                  – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01 ถึง 1 ลิตร

                  – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 2 ลิตร สูงสุด 100 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          19

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

1-Bromobutane

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Monobromobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Bromobenzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Phenyl bromide

        สูตรโมเลกุล      C4H9Br

        สูตรโครงสร้าง    12319317_10207280586146401_1672451414_n

        รหัส IMO        12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        108-86-1

        รหัส EC NO.    602-060-00-9

        UN/ID No.      2514

        รหัส RTECS    CY 900000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-623-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T.Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 108-86-1         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้สารวิเคราะห์และทดสอบทางเคมี (reagent, ในห้องปฏิบัติการเคมี)
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
        LD50(มก./กก.) : 2699 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          20411/ – ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        –

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       –

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :   เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัวของอะโรมาติก

        นน.โมเลกุล :   157.01

        จุดเดือด(0ซ.) :  156

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -31

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.50

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    5.41

        ความหนืด(mPa.sec) :  1.124

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  10 ที่ 400ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  6.42

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.16 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ, ทำให้เกิดอาการไอ, หายใจถี่รัว, มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลางทำให้เวียนศีรษะ, สูญเสียการควบคุม, หมดสติ, สารนี้อาจจะดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือดทำให้เกิดอาการคล้ายกับการกินหรือการกลืนเข้าไป

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง มีอาการผื่นแดง, อาการคัน, และเจ็บปวด, สารนี้อาจจะถูกซึมผ่านผิวหนังได้ทำให้เกิดอันตรายต่อระบบในร่างกาย

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดศีรษะ เสียงแหบ ระบบประสาทส่วนกลางถูกกด

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง, ผื่นแดง, และเจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้มีผลทำลายระบบประสาทส่วนกลาง ปอด ทรวงอก ระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้ การเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ออกซิไดซ์ของคาร์บอนเหมือนกับไอออกนิค หรือการออกซิไดซ์ ฮาโลเจน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           51

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  566

        ค่า LEL % :     0.5     

        UEL % :        2.5     

        NFPA Code :    12309167_10207280591466534_937291503_n

         สารดับเพลิง : ให้ฉีดน้ำเป็นฝอย, สารเคมีแห้ง, แอลกอฮอล์โฟม, หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อปิดคลุมไฟและฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกเพลิงไหม้ และฉีดสกัดส่วนที่หกรั่วไหลหรือไอระเหยที่ยังไม่ติดไฟ ให้ออกห่างจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้

                – ในขณะเกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมี และอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังออกซิเจนในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

                – ส่วนผสมระหว่างไอระเหยกับอากาศอาจทำให้ระเบิดได้ที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                – ไอระเหยสามารถไหลไปบนพื้นสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – สัมผัสกับสารออกซิไดซ์อย่างแรง จะทำให้เกิดเพลิงไหม้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกแน่นอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

                – ว่องไวต่อประจุไฟฟ้าสถิต

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่เย็น แห้ง และมีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

                – ให้เก็บออกห่างจากพื้นที่ที่อาจจะเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลันได้

                – แยกเก็บห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บไว้ภายนอกอาคารหรือการแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อเชื่อมและต่อลงดินเมื่อมีการถ่ายเทเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดไฟฟ้าสถิตย์

                – ห้ามสูบบุหรี่ในพื้นที่ที่เก็บและใช้งาน ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ, รวมไปถึงการการระบายอากาศที่มีการป้องกันการระเบิด

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้จะเป็นอันตรายเมื่อถังเปล่าเนื่องจากกากสารเคมีตกค้าง เช่น ไอระเหย ของเหลว

        เคลื่อนย้าย ขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Bromobenzene

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 2514

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้ระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล

        – กั้นแยกพื้นที่อันตรายออก ห้ามไม่ให้บุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเข้าไป

        – เก็บรวบรวมของเหลวใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือวัตถุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (varmiculite) ทรายแห้ง (earth) และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียสารเคมี, อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ทำให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่ถ้าเป็นไปได้

        – อย่าฉีดล้างลงไปท่อระบายน้ำ

        – ถ้าสารที่หกรั่วไหลยังไม่ลุกติดไฟ ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อสลายกลุ่มไอระเหยเพื่อป้องกันอันตรายบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกห่างจากการสัมผัส

        การกำจัด : ให้ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบของกฎหมายการกำจัดสารเคมี

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุ

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์, ถ้าไม่หายใจ ให้ช่วยผายปอด, ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก, นำส่งไปพบแพทย์, ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา :     ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาถี่ๆ

        อื่นๆ :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม : ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสียหรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  ไม่ระบุไว้         

        OSHA NO. :    ไม่ระบุไว้

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      ไม่ระบุไว้

        วิธีการวิเคราะห์ :         ไม่ระบุไว้

        ข้อมูลอื่น ๆ :    ไม่ระบุไว้

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          17

        DOT Guide :               129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

1- Chlorobutane

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   1- Chlorobutane

        ชื่อเคมีทั่วไป     N – butyl chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      N – propylcarbinyl chloride ; N-butyl chloride; N-propylcarbinyl chloride; Butyl chloride; Chlorobutane, 1- ;

        สูตรโมเลกุล      C4H9Cl

        สูตรโครงสร้าง    12305962_10207268348200460_121239918_n

        รหัส IMO        12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        109-69-3

        รหัส EC NO.    602-059-00-3

        UN/ID No.      1127            

        รหัส RTECS     EJ 3000000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-696-6

        ชื่อวงศ์  Cholorinate Hydrocarbon

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T Baker Inc.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 109-69-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : สารที่นำไปใช้เป็นสารทดสอบและวิเคราะห์ทางเคมี (reagent) ในห้องปฏิบัติการเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 2670 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          –

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        –

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       –

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : กลิ่นเหม็น

        นน.โมเลกุล :   92.58

        จุดเดือด(0ซ.) :  78

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -123

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.88

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.2

        ความหนืด(mPa.sec) :   0.45

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  80 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.11 ที่ 200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.79

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.26 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในเอทานอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ รวมถึงการไอ หายใจถี่รัว ความเข้มข้นสูงมีผลทำให้มึนเมา

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง มีอาการผื่นแดง คัน และเจ็บปวด

        กินหรือกลืนเข้าไป การกินเข้าไป จะก่อให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน และท้องร่วงได้

        สัมผัสถูกตา :การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง ผื่นแดง และเจ็บปวด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ไม่ถูกจัดอยู่ในบัญชีรายชื่อสารก่อมะเร็งของ ACGIH , IARC , NTP และ OSHA และสารนี้มีผลเรื้อรังต่อระบบประสาทส่วนกลาง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรที่อุณหภูมิห้องในภาชนะบรรจุที่ปิดผนึก

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนมอนนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์ , ไฮโดรเจนคลอไรด์ , ฟอสจีน ออกไซด์ของคาร์บอนจะเหมือนกับออกไซด์ออนิค หรือฮาโลเจน ที่ถูกออกซิไดซ์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           -9

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   240

        ค่า LEL % :     1.8     

        UEL % :        10.1   

        NFPA Code :    12286090_10207280455623138_1983312831_n

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง หรือโฟม

                – สารนี้ไวไฟมาก

                – น้ำจะมีประสิทธิ์ภาพในการหล่อเย็น แต่ไม่มีผลในการดับเพลิง

                – ใช้น้ำฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกจากบริเวณที่สัมผัสถูกเพลิงและเจือจางส่วนที่หกรั่วไหลให้เป็นส่วนผสมที่ไม่ไวไฟ

                – ในขณะเกิดเพลิงไหม้ควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

                – สารนี้จะสลายตัวที่จุดเดือด เกิดก๊าซพิษออกมา ออกไซด์ของไนโตรเจน คาร์บอนมอนนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

                – สารเคมีนี้เมื่อถูกเผาไหม้จะทำให้ก๊าซฟอสจีนแลก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์

                – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศอาจระเบิดได้ภายในขีดจำกัดความไวไฟที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ

                –  การสัมผัสกับสารออกซิไดซ์อย่างแรงจะทำให้เกิดเพลิงไหม้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

                – ไอระเหยสามารถไหลไปบนพื้นสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – ว่องไวต่อประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ของเหลวไวไฟสูงจะต้องเก็บห่างจากประกายไฟ เปลวไฟ พื้นผิวร้อนและแหล่งของความร้อนและการจุดติดไฟทั้งหมด

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่ที่แห้ง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี

                – ให้เก็บห่างจากพื้นที่ที่อาจเกิดอันตรายจากการเกิดอัคคีภัยอย่างเฉียบพลันได้

                – แยกเก็บให้ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้ ความร้อน ประกายไฟและเปลวไฟ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บไว้นอกอาคาร หรือแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ป้องกันการเสียหายทางกายภาพ

                – ห้ามสูบบุหรี่บริเวณที่ใช้งานและบริเวณที่เก็บสารเคมีนี้

                – ภาชนะบรรจุจะต้องมีสายต่อเชื่อมและต่อลงดินสำหรับการถ่ายเทเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดประกายไฟฟ้าสถิตย์

                – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่มีการเกิดประกายไฟ รวมถึงการป้องกันการระเบิดได้ของการระบายอากาศ

                – ภาชนะบรรจุสารที่เป็นถังเปล่าแต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ อาจจะก่อให้เกิดอันตราย ควรใช้อย่างระมัดระวัง

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระมัดระวังทั้งหมดของสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : คลอโรบิวเทน (Cholrobutane)

                ประเภทอันตราย : 3.2

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : 4 ลิตร

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – ให้เคลื่อนย้ายของการจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – กั้นแยกพื้นที่อันตรายออกและห้ามไม่ให้บุคคลที่ไม่มีหน้าที่จำเป็นและไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันเข้าไป

        – ให้ระบายอากาศเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล

        – เมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ถ้าสารที่หกรั่วไหลยังไม่ลุกติดไฟ ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อสลายกลุ่มไอระเหยและเพื่อป้องกันอันตรายต่อบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกห่างจากการสัมผัสกับเปลวเพลิง

        –  เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับด้วยวัตถุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (vermiculite) ทรายแห้ง (earth) และเก็บภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี

        – อย่าใช้วัสดุติดไฟได้เช่นขี้เลื่อย

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่ถ้าเป็นไปได้

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่มทำให้เกิดประกายไฟ

        – อย่าฉีดล้างลงไปท่อระบายน้ำ

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้อีกครั้ง

และส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที กระพริบตาขึ้นลง นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         รั่วไหลสู่ดิน : สารนี้คาดว่าจะสามารถระเหยได้อย่างรวดเร็วและจะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน

         รั่วไหลสู่น้ำ : โดยจะมีการสลายตัยวไปครึ่งหนึ่ง (half life) ภายในเวลาน้อยกว่า 1-10 วัน และสารนี้มีค่าสัมประสิทธิ์ค่า Log ของอ๊อกทานอลกับน้ำน้อยกว่า 3.0

         รั่วไหลสู่อากาศ : สารนี้จะสลายตัวได้ปานกลางโดยทำปฏิกิริยากับสารไฮดรอกวิล เรดิวิลที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกับแสง สารนี้จะสลายตัวไปครึ่งหนึ่งภายในเวลา 1-10 วัน

         ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม : คาดว่าไม่เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  ไม่ระบุไว้

        OSHA NO. :    ไม่ระบุไว้

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      ไม่ระบุไว้

        วิธีการวิเคราะห์ :          ไม่ระบุไว้

        ข้อมูลอื่น ๆ :    ไม่ระบุไว้

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          18

        DOT Guide :               130

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Xylene

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Dimethylbenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Xylene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Xylol; Xylene; Dimethylbenzene (mixed isomers); Xylene (mixed isomers); Xylenes mixed isomers; Xylenes (o-, m-, p-isomers); Dimethylbenzenes; Xylene mixture (60% m-xylene, 9% o-xylene, 14% p-xylene, 17% ethylbenzene); Xylene (mixed); Xylene (o-, m-, p-isomers); Except p-xylene, mixed or all isomers; Xylene, mixed or all isomers, except p-; M & p-xylene; Xylenes (mixed); Xylene mixture (m-xylene, o-xylene, p-xylene); Total xylenes; M-,p-,o-Xylene; O-,m-,p-Xylene; Xylene, (total); Xylene mixture; Socal aquatic solvent 3501; Xylenes ; Xylene (o-,m-,p-);

        สูตรโมเลกุล      C24H30

        สูตรโครงสร้าง    12312225_10207268088913978_1627777218_n

        รหัส IMO12286089_10207247452278075_1668521281_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

         CAS No.        1330-20-7

        รหัส EC NO.    601-022-00-9

        UN/ID No.      1307              

        รหัส RTECS    ZE 2100000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         215-535-7

        ชื่อวงศ์                   Aromatic Solvent

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        Champion Technologies,LTD

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ        6555-30th Street South East Calgary Alberta Canada T2C 1R4

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:
        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1330-20-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็น Solvent
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4000 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              21700/ 4  ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          100 (ppm)    

        PEL-STEL(ppm) :    –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         100 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    150 (ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส

        กลิ่น : กลิ่นหอมหวาน

        นน.โมเลกุล :   106.16

        จุดเดือด(0ซ.) : 138.3

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 30

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.87

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.7

        ความหนืด(mPa.sec) :       0.62 – 0.81

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    6.72 ที่ 210ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.13

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   4.34

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.23 ppm ที่  250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคือง และหายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคือง เกิดแผลแสบไหม้ และทำให้ผิวหนังอักเสบ

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป เป็นอันตรายต่อร่างกาย ทำให้มีการขับของน้ำลายออกมามาก มีเหงื่อออก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง ปวดท้อง และเบื่ออาหาร

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองและเกิดแผลไหม้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็ง และสารนี้ทำลายประสาท เลือด ดวงตา หู ตับ ไต และเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความคงตัว

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           26.1

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    527

        ค่า LEL % :     1

        UEL % :        7

        NFPA Code :    12308909_10207269235702647_884726687_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำฉีดเป็นฝอย หรือโฟม

 

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ อาจลุกติดไฟได้เมื่อสัมผัสกับความร้อน, ประกายไฟ หรือเปลวไฟ

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

                – ไอระเหยของสารนี้อาจก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดได้ทั้งภายในบริเวณอาคาร, ภายนอก หรือในท่อระบบระบายน้ำ

        v        – การไหลของสารไปในท่อระบายน้ำอาจก่อให้เกิดอันตรายจากไฟไหม้และการระเบิดได้

                – ให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

                – ให้ใช้การฉีดน้ำเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้ จนกระทั่งไฟดับสนิท

                – ให้อยู่ห่างจากภาชนะบรรจุสาร

                – สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากแหล่งจุดติดไฟทั้งหมด

                – เก็บห่างจากเด็ก

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Xylene

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : 1307

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทรายหรือวัสดุดูดซับอื่นที่ไม่ติดไฟ

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n 

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

        แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับ ดีมากและแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ,Polyvinyl Chloride , Natural Rubber,Neoprene/Natural Rubber Blend

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบากให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้อาเจียน นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างออกด้วยน้ำและสบู่อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ระบุไว้
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. : 

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :   –

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 16

        DOT Guide :   130

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

าตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Propan-2-ol

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2 – Propanol ; Isopropanol

        ชื่อเคมีทั่วไป     Isopropyl alcohol ; 2 – Propyl alcohol ; Sec – propyl alcohol

        ชื่อพ้องอื่นๆ      IPA; Sec-propanol; Rubbing Alcohol; Dimethylcarbinol; Sec-Propyl alcohol; Alcohol; Propan-2-ol; I-Propanol; 2-Hydroxypropane; Alcojel; Alcosolve; Avantin; Chromar; Combi-schutz; Hartosol; Imsol a; Isohol; Lutosol; Petrohol; N-propan-2-ol; Propol; Spectrar; Sterisol hand disinfectant; Takineocol; Alcosolve 2; DuPont Zonyl FSP Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSJ Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSA Fluorinated Surfactants; DuPont Zonyl FSN Fluorinated Surfactants; Isopropyl Alcohol (Manufacturing, strong-acid process);

        สูตรโมเลกุล      C3H8O

        สูตรโครงสร้าง   12308975_10207267108369465_1467729688_n

        รหัส IMO       12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        67-63-0

        รหัส EC NO.    603-003-00-0

        UN/ID No.      1219             

        รหัส RTECS     NT 8050000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-661-7

        ชื่อวงศ์                   Secondary อะลิฟาติกแอลกอฮอล์

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า         –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ         Cheminfo

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 67-63-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการผลิตเครื่องสำอางค์ และอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    4710 ( หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        4710  ( หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :          2000(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :          400(ppm)     

        PEL-STEL(ppm) :         500(ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         400(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :        500(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เหมือนยางแอลกอฮอล์ , ฉุน

        นน.โมเลกุล :   60.09

        จุดเดือด(0ซ.) : 82.3

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -88.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.8044

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.1

        ความหนืด(mPa.sec) :        2.4

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    33 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่ 20 0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   2.45

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.408 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :      

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปไม่เป็นอันตรายมาก แต่เกิดการระคายเคืองจมูกและลำคอ และระบบทางเดินหายใจ อาการที่แสดงต่อมาเมื่อได้รับสารเพิ่มขึ้น คือ ปวดหัว , คลื่นไส้ , วิงเวียน , อาเจียน ถ้าได้รับปริมาณสูงขึ้นอาจทำให้หมดสติหรือตายได้

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังไม่ทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณผิวหนังในกรณีที่สัมผัสในเวลาอื่นๆ แต่ถ้าสัมผัสนาน จะทำให้ผิวหนังแห้งและผิวหนังแตก

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนเข้าไปปริมาณมากทำให้อาการทรุดหนักลงไป อาการคล้ายการสัมผัสทางหายใจ ซึ่งควรนำไปพบแพทย์ อาการคือจะอาเจียน และมีอันตรายเกี่ยวกับปอด

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาทำให้เกิดการระคายบริเวณตา ถ้าสัมผัสถูกสารที่ 400 ppm ประมาณ 3 – 5 นาที ถ้าสัมผัสที่ 800 ppm จะทำให้เกิดแผล อาจจะไม่เป็นอันตรายต่อคน แต่จากการทดลองเป็นอันตรายต่อสัตว์ เมื่อได้รับในอัตราที่สูง

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ อาจจะไม่เป็นอันตรายต่อคน แต่จากการทดลองเป็นอันตรายต่อสัตว์ เมื่อได้รับในอัตราที่สูง และสารทำลายระบบประสาท ไต ระบบหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ระบบทางเดินอาหาร

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
        ความคงตัว : สารนี้เสถียร เกิดรูปเปอร์ออกไซด์ในความมืด และไวต่อแสงแดด ทำให้อยู่ในรูปของคีโตนเมื่อเกิดปฏิกิริยาเปอร์ออกซิเดรีน

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์อย่างแรง (โครเมียมไตรออกไซด์ , เปอร์คลอเรต , เปอร์ออกไซด์) ซึ่งเสี่ยงต่อการติดไฟ , ระเบิด กรดเข้มข้น (กรดไนตริก , กรดซัลฟูริก , โอลีน) ปฎิกริยาที่รุนแรงและอันตราย โลหะอัลคาไลน์ และอัลคาไลน์เอริท์ (ไม่เกิดการติดไฟได้ก๊าซไฮโดรเจน) อลูมิเนียม เกิดปฏิกริยารุนแรง และไม่ให้ความร้อนโครโตนานดีไฮน์หรือฟอสจีน , โพแทลเซี่ยลบิวทิวออกไซด์ , ไตรไนโตรมีเทป

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: เปลวไฟ , ประกายไฟ , ประจุไฟฟ้า , ความร้อน และสารติดไฟ , แสง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : แอนไฮดริส โพรพานอลไม่กัดกร่อนเหล็ก , สเตนเลท , เหล็กกล้า , ทองแดงและบรอนซ์ และอัลลอยด์ที่อุณหภูมิปกติ

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            11.7

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    399

        ค่า LEL % :     2

        UEL % :        12

        NFPA Code :    12277993_10207269065218385_747999914_n

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์ , ผลเคมีแห้ง , แอลกอฮอล์โฟม , พอลิเมอร์โฟม แต่น้ำจะไม่มีประสิทธิภาพในการดับเพลิง เพราะไม่ทำให้อุณหภูมิของสารต่ำกว่าจุดวาบไฟได้ นิยมที่สุดคือ โฟม

        – สารนี้ทนต่อแรงกระแทก , ไวต่อประจุไฟฟ้า

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

        – สารที่ได้จากการเผาไหม้ : คาร์บอนมอนอกไซด์ , คาร์บอนไดออกไซด์ และสารพิษอื่นๆ

        – ควรหยุดสารที่รั่วไหลก่อนจะดับไฟ ถ้าหยุดสารไม่ได้ให้ใช้น้ำในการดับเพลิง

        – ในการดับเพลิงควรอยู่ในที่ที่ปลอดภัย อยู่เหนือลม เพื่อป้องกันสารพิษปลิวเข้าตา

        – ถ้าเป็นไปได้ควรนำภาชนะบรรจุสารออกไปจากบริเวณนั้น

        – ในกรณีสารรั่วไหลแต่ยังไม่ไหม้ ควรใช้น้ำฉีดเป็นฝอยกว้างๆ หรือใช้น้ำช่วยในการเจือจางฉีดให้ห่างจากเปลวไฟ หรือสารติดไฟ

        – ผู้ดับเพลิงควรมีความชำนาญ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดส์ , การกัดกร่อนและสารไม่เข้ากัน หรือกรดเข้มข้น , กรดแอนไฮไดรส์ , ธาตุอัลคาไลฟ์ , ธาตุอัลคาไลน์เอริท (โลหะ ควรจะปิดฉลากไว้ด้วยและเขียนคุณสมบัติของสารไว้ด้วย)

                – เก็บให้ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้ ความร้อน เปลวไฟ แสงแดด

                – สถานที่เก็บไม่ควรมีสื่อที่สามารถติดไฟได้ เช่น บุหรี่ ไม้ขีดไฟ ไฟ

                – ควรปิดฝาภาชนะเมื่อไม่ใช้

                – ไม่ควรนำสารที่เหลือจากการใช้กลับมาใส่ภาชนะบรรจุอีก และควรปิดฉลากไว้ด้วย

                – สารนี้ไวไฟ เป็นสารพิษ และสารระคายเคืองตา

                – ก่อนเก็บสิ่งสำคัญคือควรมีอุปกรณ์ป้องกันและทำความสะอาดให้ดี

                – บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับสารเคมีควรทราบถึงคุณสมบัติของสาร

                – การจัดเก็บควรมีคู่มือการปฐมพยาบาล

                – วิธีการดับเพลิง หรือวิธีการกำจัดกรณีรั่วไหล หลีกเลี่ยงการเกิดไอ และไม่ให้ไอรั่วไหลออกไป อย่าให้สารกระเด็น

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Isopropanol

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : 1219

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม I

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยดิน , ทราย , ฝุ่น หรือสารที่มีคุณสมบัติการดูดซับได้

        – จัดหาอุปกรณ์ป้องกันและจัดเก็บสารที่รั่วไหลใส่ภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัด

        – จัดเก็บสารที่รั่วไหล นำเอาสารที่เป็นของเหลวกลับมาใช้ใหม่ หรือจัดเก็บไว้ถ้าสามารถทำได้

        – หยุดการรั่วไหลของสารถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงจากอันตราย

        – เคลื่อนย้ายสารที่ทำให้เกิดความร้อน

        – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

                       แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Laminated film ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 480 นาที แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดีมาก และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 200 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดี และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 30 นาที และควรมีอัตราการเสื่อมสภาพของถุงมือ (Degradation Rating) อยู่ในระดับดี และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

        ข้อแนะนำในการเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                      – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และCanister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมีCanister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

                     – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                      – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปจากบริเวณเปลวไฟของสาร เคลื่อนย้ายสารและผู้ป่วยไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์ รีบนำไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ไม่ควรให้สิ่งใดเข้าปากในกรณีผู้ป่วยหมดสติ ควรล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ควรให้ผู้ป้วยดื่มน้ำ 8-10 แก้วหรือ 240-300 มิลลิลิตร เพื่อนำไปเจือจางสารในช่องท้อง ถ้าผู้ป่วยเกิดอาเจียนขึ้นมาให้ผู้ป่วยนอนลาดกับพื้น และให้ดื่มน้ำอีกแล้วรีบนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำไปส่งพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ควรล้างตาด้วยน้ำอุ่นทันที โดยในน้ำไหลผ่านประมาณ 20 นาที หรือจนกระทั่งสารเคมีออกหมดแล้ว ควรเปิดเปลือกตา ดูแลอย่าให้มีสิ่งเจือปนในน้ำเข้าตาอีก แล้วรีบนำไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

                – สารนี้สามารถเกิดการย่อยสลายทางชีวภาพได้

                – ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 1400

        OSHA NO. :   109

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                 – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100mg/50 mg

                 – การวิเคราะห์ใช้เทคนิค GC ที FID detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 16

        DOT Guide :   129

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Diethyl ether

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Ethoxyethane

        ชื่อเคมีทั่วไป     Diethyl ether

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Ethyl ether; 1,1′-Oxybisethane; Ethyl oxide; Diethyl Oxide; Pronarcol; Diethyl Ether (Ethyl Ether); Ethyl Ether ethane; Ethyl oxide; Diethyl Oxide; Pronarcol; Diethyl Ether (Ethyl Ether); Ethyl Ether

        สูตรโมเลกุล      C4H10O

        สูตรโครงสร้าง    12309308_10207266906684423_1595917056_n

        รหัส IMO        12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        60-29-7                 

        รหัส EC NO.      603-022-00-4

        UN/ID No.      1155                  

        รหัส RTECS         KI 5775000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-467-2

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า FLUKA CHEMICAL CORP.

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ 1001 WEST ST. PAUL MILWAUKEE, WI 53233 USA.

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 60-29-7         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 1215 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :      221,190  / 2 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       400(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      500(ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       400(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    500(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัว

        นน.โมเลกุล :   74.12

        จุดเดือด(0ซ.) :  34.6

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -116.3

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.71

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.6

        ความหนืด(mPa.sec) :   0.23

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  422 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  6.9 ที่  –0ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.03

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.329 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : สารนี้สามารถละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองเยื่อบุเมือก ทางเดินหายใจส่วนบน ไอ เจ็บหน้าอก หายใจติดขัด คลื่นไส้ ปวดศีรษะ อาเจียน มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ตับ ไต

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ถ้าสัมผัสนาน ๆ หรือซ้ำกันบ่อย ๆ จะทำให้ไขมันบริเวณผิวหนังละลายออกไป และเป็นโรคผิวหนังอักเสบ

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ตับ ไต

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคือง ตา ทำให้ตาแดง น้ำตาไหล ตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ มีผลทำลายระบบประสาทส่วนกลาง ตับ ไต ตา ผิวหนัง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดส์ ความร้อน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์, คาร์บอนมอนนอกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           -40

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    170

        ค่า LEL % :     1.7

        UEL % :        36     

        NFPA Code :   12283160_10207269259943253_652811124_n

         สารดับเพลิง : ผงเคมีแห้ง, โฟมชนิดที่เหมาะสม หรือคาร์บอนไดออกไซด์

        – สารนี้เป็นสารไวไฟ

        – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสถูกไฟ

        – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

        – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

        – ภาชนะบรรจุของสารอาจเกิดการระเบิดได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนหรือไฟ

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
        การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากแหล่งจุดติดไฟ ห้ามสูบบุหรี่

                – มีวิธีการระมัดระวัง การเกิดประจุไฟฟ้าสถิตย์

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วย วัสดุดูดซับประเภทถ่านกัมต์

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล และล้างบริเวณที่สารหกรั่วไหลหลังจากเก็บสารเคมีเรียบร้อยแล้ว

        การกำจัด : เตาเผาสารเคมีที่มีอุปกรณ์หัวเผาขั้นที่สอง และอุปกรณ์กำจัดมลพิษ

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : เลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1900 ppm ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ได้ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม Cartridge ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือ u11 พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

        ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

      – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยสารอินทรีย์ หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      การกลืนหรือกินเข้าไป ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตาให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแทพย์

        อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – ผลการย่อยทางชีวภาพดี

                –  เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยในน้ำ

                – ไม่ก่อให้เกิดผลต่อระบบนิเวศน์หากมีการใช้และจัดการผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
        NMAM NO. :  1610

        OSHA NO. :    7

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg/ 50mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 0.25 ลิตร, 3 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          14

        DOT Guide :              127

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Benzene

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Cyclohexatriene

        ชื่อเคมีทั่วไป     Phenyl hydride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Coal naphtha; Benzol; Benzine; Benzolene; Phene; (6)annulene; Bicarburet of hydrogen; Carbon oil; Mineral naphtha; Motor benzol; Nitration benzene; Pyrobenzol; Benzene ;

        สูตรโมเลกุล      C6H6

        สูตรโครงสร้าง   12286095_10207256029292495_371043123_n

        รหัส IMO   12286089_10207247452278075_1668521281_n

        CAS No.        71-43-2                  

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      1114             

        รหัส RTECS     CY 1400000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         200-753-7

        ชื่อวงศ์  Aromatic hydrocarbon / benzene

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINOFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 71-43-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในขบวนการผลิตเอทิลเบนซิล คูมีน ไซโคลเฮกเซน ไนโตรเบนซีน ดีเทอเจนอัลคีเลท คลอโรเบนซีน และมาลีอิกแอนไฮไดร เบนซีนจะถูกใช้เป็นสารตัวทำละลาย และสารทำปฏิกิริยาในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 930 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        13,700/ 4 (มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    500 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       1 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      5 (ppm)

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :       0.5 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      2.5 (ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : เฉพาะตัว อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน

        นน.โมเลกุล :   78.11

        จุดเดือด(0ซ.) :  80

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 5.5

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.877

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.7

        ความหนืด(mPa.sec) :     0.647

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  75 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.18 ที่ 250ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.19

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.31 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

                – สารนี้สามารถละลายได้ในเอทานอล คลอโรฟอร์ม ไดเอทิลอีเธอร์ คาร์บอนไดซัลไฟด์ อะซิโตน น้ำมัน คาร์บอนเตตระคลอไรด์ และกรดอะซีติก

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเอาสารนี้เข้าไป ผลกระทบของการสัมผัสสารนี้จะไปกดระบบประสาทส่วนกลางก่อให้เกิดอาการเวียนศีรษะ ง่วงซึม ปวดศีรษะ คลื่นไส้ เกิดภาวะการทำงานไม่ประสานกัน มึนงง และทำให้หมดสติได้ การสัมผัสสารนี้ที่ความเข้มข้น 25 ppm คาดว่าจะไม่ก่อให้เกิดอันตราย การสัมผัสสารนี้ที่ความเข้มข้น 50-150 ppm จะก่อให้เกิดอาการปวดศีรษะ และอ่อนเพลีย ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก และลำคอ อาจจะมีอาการเวียนศีรษะ เป็นอาการนำก่อนจะเกิดอาการอื่น ๆ ตามมา การสัมผัสสารนี้ที่ความเข้มข้นประมาณ 20,000 ppm จะทำให้เสียชีวิตได้ สารนี้จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบเลือดและระบบภูมิคุ้มกันจากการทดลองในสัตว์ทดลอง แต่ยังไม่ยืนยันว่าสามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อมนุษย์ในการสัมผัสสารในระยะสั้น มีการรายงานเกี่ยวกับผลกระทบของสารนี้ในระบบเลือดเมื่อปี 1992 พบว่า ในคนงานที่ทำงานสัมผัสกับเบนซีนที่ระดับความเข้มข้นสูง (สูงกว่า 60 ppm ) เป็นเวลาติดต่อกันหลาย ๆ วัน โดยที่คนงานก็ยังคงใช้สารเคมีชนิดอื่นเข้าไปด้วยในช่วงเวลาเดียวกัน หลังจากติดตามเป็นเวลา 4 เดือน พบว่าคนงานเหล่านี้มีอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง 9 คน ในคนงาน 15 คน และมีอย่างน้อย 1 คน ที่พบว่าผิดปกติของระบบเลือด และหลังจากการติดตามเป็นเวลา 1 ปี พบว่ามีคนงาน 6 คน ที่ยังมีการเปลี่ยนแปลงในระบบเลือดอยู่ (มีการเปลี่ยนแปลงของจำนวนเม็ดเลือดขาวชนิด lymphocytes)

        สัมผัสทางผิวหนัง จากการทดลองในสัตว์พบว่าการสัมผัสสารนี้จะก่อให้เกิดการระคายเคืองเล็กน้อย จากการศึกษาในมนุษย์พบว่าสารนี้สามารถดูดซึมผ่านเข้าสู่ร่างกายได้ทำให้ผิวหนังแห้ง

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป สารนี้จะเกิดการดูดซึมอย่างรวดเร็วและไปมีฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลางก่อให้เกิดอาการคล้ายหายใจเข้าไป พบว่าสารนี้สามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบเลือด และระบบภูมิคุ้มกันได้ในสัตว์ทดลอง แต่ยังไม่มีรายงานยืนยันผลกระทบดังกล่าวในมนุษย์

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ ผลกระทบต่อการสัมผัสในระยะยาว หรือการสัมผัสถูกผิวหนังเป็นระยะเวลานาน ๆ จะทำให้เกิดผื่นแดง ผิวหนังแห้ง อักเสบ และทำให้เกิดการสูญเสีย/ทำลายชั้นไขมันของผิวหนัง สารนี้จะก่อให้เกิดการลดลงของจำนวนเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด แต่ในระยะเวลานาน จะก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางและเกิดความผิดปกติต่อเม็ดเลือดขาว (leukemia) เนื่องจากเบนซีนจะไปทำลายไขกระดูกซึ่งมีหน้าที่ในการผลิตเม็ดเลือดจึงทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง และเกิดความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว (leukemia) ขึ้น รวมทั้งจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกันนอกจากนั้นพบว่า เบนซีนสามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อปลายประสาทและไขสันหลัง ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อย เมื่อยล้า นอนไม่หลับ และความจำเลอะเลือน

        – สารนี้จัดเป็นสารก่อมะเร็งตามบัญชีรายชื่อ IARC NTP ACGIH

        – เบนซีนจะก่อให้เกิดมะเร็งต่อระบบน้ำเหลือง ปอด กระเพาะปัสสาวะ

        – สารนี้สามารถแพร่ผ่านรกได้ แต่จะไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อตัวอ่อนในครรภ์

        – การสัมผัสกับเบนซีนที่ความเข้มข้นสูง อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบสืบพันธุ์ และมีผลกระทบต่อประจำเดือนในเพศหญิงได้

        – สารนี้สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง/ก่อให้เกิดความผิดปกติของโครโมโซมในเม็ดเลือดขาว และก่อให้เกิดการทำลาย DNA ในเซลล์เม็ดเลือดได้

        – จากผลการทดลองในสัตว์พบว่าการรับสัมผัสจะก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของเอทานอลในระบบเลือดได้

        – เบนซีนสามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้อย่างรวดเร็วโดยทางการหายใจ และการกลืนกินและกระจายสู่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในเนื้อเยื่อไขมัน และเบนซีนจะเกิดเมตาโบลิซึมขั้นแรกที่ตับ และผ่านเข้าสู่ไขกระดูก และทำให้มีความเป็นพิษขึ้น ในมนุษย์ค่าครึ่งชีวิตของเบนซีนคือ 1-2 วัน และสารนี้ไม่มีแนวโน้มที่จะเกิดการสะสมโดยสารนี้จะถูกปล่อยออกมาพร้อมกับลมหายใจออกผ่านทางปอด และพบขับออกมาพร้อมกับยูรีน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : โซเดียมเปอร์ออกไซด์ ไพแทสเซียมเปอร์ออกไซด์ โครมิกแอนไฮไดร เปอร์เมรกานิกแดซิด คลอรีน ไนตริกแดซิด โอโซน ไดโบแรม อินเตอร์ฮาโลเจน ไดออกซิเจน ไดฟลูออไรด์ ไดออกซิเจนนิล เตตระฟลูออโรบอเรต เปอร์แมงกานิกแอซิด เปอรอกซ์โซไดซิลฟูริกแอซิด เมทัลเปอร์คลอเรต ไนตริลเปอร์คลอเรต และแหล่งจุดติดไฟ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้าสถิตย์ ประกายไฟ เปลวไฟ ความร้อน และแหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ อัลดีไฮด์ และคีโตน

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ :

                – สารนี้ไม่มีฤทธิ์กัดกร่อนต่อโลหะ

                – สารนี้สามารถทำลายโครงสร้างของยางและพลาสติก

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           -11

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    498

        ค่า LEL % :     1.3

        UEL % :        7.1     

        NFPA Code :   12308909_10207269235702647_884726687_n

         สารดับเพลิง : ไม่ระบุไว้

                – สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ

                – ไอระเหยของสารนี้สามารถลุกติดไฟในช่วงของขีดจำกัดการติดไฟ และเกิดการลุกติดไฟได้โดยประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ไอระเหยของสารสามารถลุกติดไฟได้ที่อุณหภูมิห้อง

                – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

                – ของเหลวของสารสามารถลอยตัวอยู่บนผิวน้ำ และเกิดการแพร่กระจายออกไป ซึ่งทำให้เกิดการแพร่กระจายของไฟได้

                – ในระหว่างเกิดเพลิงไหม้จะก่อให้เกิดก๊าซที่เป็นพิษ และมีฤทธิ์ระคายเคืองขึ้น

                – สารนี้สามารถเกิดการสะสมในบริเวณสถานที่อับอากาศทำให้เกิดอันตรายจากการติดไฟ และเกิดความเป็นพิษน้ำอาจใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล เนื่องจากน้ำไม่สามารถลดอุณหภูมิของเบนซีนให้เย็นลงในอุณหภูมิต่ำกว่าจุดวาบไฟได้

                – วิธีการดับเพลิง ให้ทำการเคลื่อนย้ายออกนอกบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ และให้ทำการฉีดดับเพลิงจากระยะที่ปลอดภัย และเป็นบริเวณที่มีการป้องกัน ผู้ทำการดับเพลิงจะต้องอยู่ในด้านเหนือลมและหลีกเลี่ยงไอระเหยหรือสารที่เกิดจากการสลายตัว

                – ให้ทำการหยุดการรั่วไหลก่อนที่จะเกิดการลุกติดไฟ ให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกมาจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้ และให้ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้ หรือภาชนะบรรจุที่เกิดการแตกออกเล็กน้อย ให้ใช่การฉีดน้ำเป็นฝอยเพื่อลดการแพร่กระจายของไอระเหยและป้องกันบุคคลที่จะเข้าไปหยุดการรั่วไหล

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมชุดป้องกันชนิดปิดคุลมเต็มตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และป้องกันการสัมผัสโดยตรงกับแสง

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจาก แหล่งจุดติดไฟ ประกายไฟ เปลวไฟ พื้นผิวที่ร้อน ความร้อน สารออกซิไดซ์ สารกัดกร่อน และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – เก็บในบริเวณที่ห้ามสูบบุหรี่

                – ระบบระบายอากาศที่ใช้จะต้องเป็นระบบที่ป้องกันการเกิดประกายไฟ และอุปกรณ์เครื่องมือ ไฟฟ้าที่ใช้จะต้องป้องกันการระเบิด

                – บริเวณที่เก็บสารจะต้องไม่มีสารที่สามารถลุกติดไฟได้

                – ในบริเวณทีเก็บจะต้องมีอุปกรณ์ดับเพลิง และอุปกรณ์สำหรับเก็บกวาดสารที่หกรั่วไหล

        ข้อมูลการขนส่ง : 

                ชื่อในการขนส่ง : Benzene

                ประเภทอันตราย : 3

                หมายเลข UN : UN 1114

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้กั้นแยกพื้นที่ที่เกิดอุบัติเหตุหกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

        – จัดให้มีการระบายอากาศในบริเวณที่เกิดการหกรั่วไหล และให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้หยุดการรั่วไหลหากสามารถทำได้อย่างปลอดภัย

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน และวัสดุดูดซับที่ไม่เกิดปฏิกิริยากับสารนี้

        –  กรณีการหกรั่วไหลเล็กน้อย ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยวัสดุดูดซับที่ไม่เกิดปฏิกิริยากับสาร และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม ทำการติดฉลากภาชนะบรรจุแล้วล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        – วัสดุดูดซับสารที่เปรอะเปื้อนจะต้องได้รับการกำจัดเช่นเดียวกับของเสีย

        – กรณีหกรั่วไหลรุนแรง ให้ทำการติดต่อหน่วยฉุกเฉิน และหน่วยบริการดับเพลิง

        – การทำความสะอาดอย่าสัมผัสกับสารที่หกรั่วไหล

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ และบริเวณที่อับอากาศ

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12309022_10207269202381814_1401123889_n 12282808_10207269089578994_74654600_n 12286194_10207269044497867_168388570_n12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

       – ที่ช่วงความเข้มข้นที่เกิดกว่าค่ามาตรฐานที่ NIOSH แนะนำหรือที่ทุกช่วงความเข้มข้นที่สามารถวัดได้ : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

        ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า และอุปกรณ์กรองอนุภาคประสิทธิภาพ (HEPA filter) หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย หากผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นให้ทำการกระตุ้นหัวใจทันที (CPR) นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไปห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ หากผู้ป่วยยังมีสติอยู่ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำอย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240-300 มิลลิลิตร (8-10 ออนซ์) เพื่อเจือจางสารในกระเพาะอาหาร หากผู้ป่วยเกิดการเอาเจียนขึ้นเองให้เอียงศีรษะต่ำ และอย่าหายใจเอาไอของสารที่เกิดจากการอาเจียนเข้าไป และให้ผู้ป่วยดื่มน้ำตามมาก ๆ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำอุ่นเป็นเวลาอย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าสารจะหลุดออกหมด พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออกนำส่งไปพบแพทย์ทันที และให้ทิ้งเสื้อผ้า รองเท้า และเครื่องหนังที่เปรอะเปื้อน

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำอุ่นเป็นเวลาอย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าสารจะหลุดออกหมด ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก ขณะทำการล้าง และให้ระวังอย่าให้น้ำจากการล้างตาไหลเข้าสู่ตาอีกข้าง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ : ผู้ทำการปฐมพยาบาลจะต้องได้รับการฝึกอบรมและมีความเชี่ยวชาญ

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – สารนี้เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต เป็นพิษต่อปลา และแพลงค์ตอน

                – การเปลี่ยนแปลงลักษณะเฉพาะกลิ่นโปรตีนจากปลา ทำให้แหล่งน้ำดื่มเป็นพิษ

                – สารนี้อาจเกิดการผสมกับอากาศเหนือผิวน้ำ ให้ของผสมที่เป็นพิษ และสามารถระเบิดได้

                – สารนี้อาจเกิดผลเสียระยะยาวต่อระบบนิเวศน์ในน้ำ

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  3700, 1500, 1501

        OSHA NO. :    12

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : coconut shell charcoal 100 mg/ 50mg

                – การวิเคราะห์ใช้ GC โดยมี flame ionization detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          16

        DOT Guide :               130

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Acetonitrile

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
          ชื่อเคมี IUPAC   Ethanenitrile

         ชื่อเคมีทั่วไป     Acetonitrile ; Methylcyanide

         ชื่อพ้องอื่นๆ      Cyanomethane; Ethyl nitrile ; Ethane nitrile; Methanecarbonitrile; AN; Ethanonitrile; Acetonitrile ;

         สูตรโมเลกุล      C2H3N

         สูตรโครงสร้าง   12305580_10207255916329671_672036303_n

         รหัส IMO     12286089_10207247452278075_1668521281_n

         CAS No.        75-05-8

         รหัส EC NO.    608-001-00-3

         UN/ID No.      1648              

         รหัส RTECS    AL 7700000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         200-835-2

         ชื่อวงศ์  –

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T. Baker INC

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ 222 Red School Lane Phillipburg New Jersey U.S.A. 08865

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          75-05-8          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : สารนี้ใช้เป็นสารวิเคราะห์และทดสอบ (reagent) ทางเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) : 3800 (มก./กก.)

         LC50(มก./ม3) :      4524.24/ 8 (มก./ม3)

         IDLH(ppm) :    500 (ppm)

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       40 (ppm)

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      40 (ppm)

         TLV-STEL(ppm) :      60 (ppm)

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
          สถานะ : ของเหลว

         สี : ใส ไม่มีสี

         กลิ่น : กลิ่นคล้ายอีเธอร์

         นน.โมเลกุล :   41.05

         จุดเดือด(0ซ.) :  82

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : – 46

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.79

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.41

         ความหนืด(mPa.sec) :   0.39

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  72.8 ที่ 200ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  100 % ที่  -0ซ.

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  –

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.68

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.595ppm ที่ 250ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตต่ำ อ่อนเพลีย อาการชักกระตุกอย่างรุนแรง ลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจนหมดสติ ปอดบวมและอาจทำให้ตายได้

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคือง สารนี้สามารถดูดซึมผ่านผิวหนังอาจทำให้เกิดอันตรายได้

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนกินเข้าไป จะทำให้ลำตัวเขียวคล้ำเนื่องจากขาดออกซิเจน หมดสติ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง หายใจติดขัด ความดันโลหิตต่ำ ระคายเคืองกระเพาะอาหารและลำไส้ ชักกระตุก อาจเสียชีวิตได้

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ตาพร่ามัว

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็งตามรายชื่อของ IARA NTP และ OSHA ผลเรื้อรัง ระบบประสาทส่วนกลางถูกทำลาย ตาพร่ามัว ตับถูกทำลาย ไตถูกทำลาย โรคโลหิตจาง

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : ปกติสารนี้มีความเสถียร

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรดแก่ สารออกซิไดซ์อย่างแรง เบสแก่ , สารรีดิวซ์ , โลหะอัลคาไลน์

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : เปลวไฟ ความร้อน และแหล่งจุดติดไฟอื่นๆแสงแดด

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ออกไซด์ของไนโตรเจน คาร์บอนมอนออกไซด์คาร์บอนไดออกไซด์

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : อาจจะเกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
          จุดวาบไฟ(0ซ.) :           5

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  523

         ค่า LEL % :     4.4

         UEL % :        16.0   

         NFPA Code :   12286140_10207269104979379_187704399_n

          สารดับเพลิง : ให้ใช้โฟมแอลกอฮอล์ ผงเคมีแห้ง หรือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้ำจะใช้ไม่ได้ผล

        – สารนี้เป็นของเหลวไวไฟ

        – ให้ฉีดน้ำหลอเย็นเพื่อควบคุมภาชนะบรรจุที่เกิดเพลิงไหม้

        – ขั้นตอนการดับเพลิงขั้นรุนแรง โดยการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันการหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

        – ให้เคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากพื้นที่ที่เกิดเพลิงไหม้ถ้าทำได้โดยปราศจากอันตราย

        – ไอระเหยจะไหลแพร่กระจายตามพื้นไปแหล่งที่จุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

        – ภาชนะปิดสนิทเมื่อสัมผัสกับความร้อนอาจทำให้เกิดการระเบิดได้

        – สัมผัสกับสารออกซิไดซ์อย่างแรงจะทำให้เกิดเพลิงไหม้ ทำให้เกิดก๊าซพิษของไฮโดรเจนไซยาไนด์ออกไซด์ของไนโตรเจน,คาร์บอนมอนออกไซด์,คาร์บอนไดออกไซด์

        – ป้องกันการเกิดประจุไฟฟ้าสถิตย์

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่แห้ง เย็น และมีการระบายอากาศที่ดี

                – เก็บในบริเวณที่เก็บวัตถุไวไฟ

                – เก็บให้ห่างจากการสัมผัสกับแสงแดดโดยตรง,ห่างจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – ต่อสารดินและเชื่อมระหว่างพังบรรจุในขณะที่มีการถ่ายเทสาร

         ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Acetonitrite

                ประเภทอันตราย : 3.2

                หมายเลข UN : UN 1648

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – หยุดการรั่วไหลของสารถ้าทำได้โดยปราศจากการเสี่ยงอันตราย

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดไอระเหย

        – วิธีแก้ไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีรั่วไหล สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกันแบบคลุมตัว

        – ปิดคลุมด้วยทรายหรือวัสดุดูดซับที่ไม่ติดไฟและเก็บใส่ในภาชนะบรรจุสำหรับนำไปกำจัด

        – ฉีดล้างบริเวณที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ

        – อย่าให้สารที่หกรั่วไหลนี้ไหลท่อระบายน้ำหรือแหล่งน้ำธรรมชาติ

         การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

          – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 200 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator)โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

         – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 500 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า(gas mask) ซึ่งมี canister ประเภทที่ป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

          –  ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

          – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า อุปกรณ์กรองอนุภาพประสิทธิภาพสูง (HEPA filter) หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้บดเอมิลไนไตร์เพริลในห่อผ้าแล้วนำไปให้ดมใต้จมูกนานประมาณ 5 นาทีทำซ้ำๆ 5 ครั้ง ครั้งละ 15 นาที ถ้าไม่หายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย

         กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือกลืนเข้าไป ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ กระตุ้นทำให้เกิดการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำ ด้วยปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้ารองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ล้างทำความสะอาดเสื้อผ้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่อีกครั้ง

         สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที แจ้งต่อแพทย์ ถ้าผู้ป่วยยังมีสติให้ออกซิเจนถ้าจำเป็น ได้รับสารเข้าไปอย่างรุนแรง เฝ้าดูผู้ป่วยไว้ 24-48 ช.ม. ถ้าพิษของไซยาไนด์ยังไม่ทุเลา หรือเกิดขึ้นอีก ให้ฉีดไนไตรด์และไฮโอซัลเฟตทุก 1 ช.ม. ถ้าจำเป็น

         อื่นๆ : การดูแลทางการแพทย์ ควรมีการไปตรวจสุขภาพ เป็นระยะๆ ที่อวัยวะสำคัญ เช่น ตับ ไต ระบบหายใจ เช็คการเต้นของหัวใจและระบบประสาท

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
          ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                 – สารนี้สามารถย่อยสลายได้ง่ายในน้ำ

                – มีแนวโน้มในการสะสมทางชีวภาพต่ำ

                – เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้ำ

                – เป็นพิษต่อปลาและแพลงค์ตอน อาจผสมกับอากาศเหนือผิวน้ำ ให้ของที่ผสมเป็นน้ำระเบิดได้

                – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. :  1606

         OSHA NO. :   

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

         วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

         ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal tube 400/200 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.1 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด 1 ลิตร , สูงสุด 25 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :          17

         DOT Guide :   131

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Acetone

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
          ชื่อเคมี IUPAC   2-Propanone

         ชื่อเคมีทั่วไป     Acetone ; Dimethyl ketone

         ชื่อพ้องอื่นๆ      Methyl ketone; Ketone propane; Dimethyl formaldehyde; Beta-ketopropane; Pyroacetic ether; Propanone; Dimethylketal; Pyroacetic acid; Chevron acetone

         สูตรโมเลกุล      C3H6O

         สูตรโครงสร้าง   12283191_10207247970371027_1021382547_n

         รหัส IMO        12286089_10207247452278075_1668521281_n

         CAS No.        67-64-1                  

         รหัส EC NO.    606-001-00-8

         UN/ID No.      1090              

         รหัส RTECS    AL 3150000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         200-662-2

         ชื่อวงศ์                    –

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          67-64-1          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการทำเครื่องสำอางค์ เป็นตัวทำละลาย ใช้ในการชะล้าง เป็นสารไล่น้ำ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) : 5800 (มก./กก.)

         LC50(มก./ม3) :     50,100/ 8 (มก./ม3)

         IDLH(ppm) :    2500 (ppm)

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       1000 (ppm)

         PEL-STEL(ppm) :      1000 (ppm)

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :      500 (ppm)       

         TLV-STEL(ppm) :   750 (ppm)

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :  –

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
          สถานะ : ของเหลว

         สี : ใส ไม่มีสี

         กลิ่น : คล้ายมินท์

         นน.โมเลกุล :   58.08

         จุดเดือด(0ซ.) :  56.5

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -95

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.79

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

         ความหนืด(mPa.sec) :    0.32

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  400 ที่ 39.50ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่  200ซ.

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :   –

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    2.38

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.42 ppm ที่ 250ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเอาไอระเหยของสารเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ทำให้เกิดอาการไอ เวียนศีรษะ หดหู่ และปวดศีรษะ ถ้าได้รับปริมาณมาก ๆ มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการทำลายชั้นไขมันของผิวหนัง ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผื่นแดง ผิวหนังแห้งและแตก ก่อให้เกิดอาการปวดแสบปวดร้อนได้

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปในปริมาณน้อยจะไม่ก่อให้เกิดอันตราย แต่หากกินหรือกลืนเข้าไปในปริมาณมาก จะทำให้เกิดอาการปวดท้อง คลื่นไส้ และอาเจียน

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอระเหยของสารจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ทำให้ ปวดตา น้ำตาไหล ตาแดง และปวดตาได้

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สัมผัสเรื้อรัง : การสัมผัสนาน ๆ หรือเป็นประจำทางผิวหนัง จะก่อให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง หรืออาจทำให้เกิดการอักเสบของผิวหนังได้ สารนี้มีผลทำลายปอด ทรวงอก ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : สารนี้เสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : ส่วนผสมระหว่างกรดไนตริกเข้มข้นและกรดซัลฟูริก, สารออกซิไดซ์, คลอโรฟอร์ม, แอลคาไล, สารประกอบคลอรีน, กรด, โพแทสเซียมทีบิวทอกไซด์ (potassium t-butoxide)

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟและสารที่เข้ากันไม่ได้

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : คาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนนอกไซด์ จะเกิดขึ้นเมื่อถูกความร้อนทำให้สลายตัว

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
          จุดวาบไฟ(0ซ.) :            -20

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    465

         ค่า LEL % :     2.5

         UEL % :        12.8

         NFPA Code :   12277993_10207269065218385_747999914_n

          สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม หรือคาร์บอนไดออกไซด์

        – การระเบิด จะเกิดขึ้นได้เมื่อสัมผัสกับความร้อนที่อุณหภูมิมากกว่าจุดวาบไฟ

        – ส่วนผสมไอระเหยกับอากาศจะระเบิดได้ภายในขีดจำกัดความไวไฟ

        – ไอระเหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

        – การสัมผัส กับสารออกซิไดซ์อาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดเพลิงไหม้

        – ภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกสนิทอาจเกิดระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน

        – สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัวคาร์บอนไดออกไซด์ และคาร์บอนมอนนอกไซด์ จะเกิดขึ้นเมื่อถูกความร้อนทำให้สลายตัว

        – สารนี้ว่องไวต่อประจุไฟฟ้าสถิตย์

        – น้ำจะใช้ไม่ได้ผลในการดับเพลิง

        – ให้ใช้การฉีดน้ำเป็นฝอยเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้ , เจือจางส่วนที่หกรั่วไหลให้เป็นส่วนผสมที่ไม่ไวไฟ และเพื่อป้องกันการสัมผัสกับสารและพยายามป้องกันบุคคลที่จะเข้าไปหยุดการรั่วไหลและการแพร่กระจายของไอระเหย

        – ในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว(SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

         สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจาก : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ห้ามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีการใช้และเก็บสาร

                – หลีกเลี่ยงการหายใจ การกลืนกิน การสัมผัสกับผิวหนัง และเสื้อผ้า

                – ทำการเคลื่อนย้ายในที่โล่ง

                – ให้ล้างทำความสะอาดร่างกาย ให้ทั่วถึงภายหลังทำการเคลื่อนย้าย

         ข้อมูลการขนส่ง : 

                  ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                  ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                  หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                  ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                  ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล : ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – กั้นแยกบริเวณที่หกรั่วไหลเป็นพื้นที่อันตราย

        – ป้องกันบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป

        – เก็บและเอาของเหลวคืนกลับมาใช้ใหม่เมื่อเป็นไปได้

        – ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

        – เก็บรวบรวมของเหลวในภาชนะบรรจุที่เหมาะสมหรือดูดซับด้วยวัตถุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย (vermiculite) ทรายแห้ง ดิน (earth) และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสียจากเคมี

        – อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย ในการดูดซับสารที่หกรั่วไหล

        – อย่าฉีดล้างลงท่อระบายน้ำ ถ้าสารที่หกรั่วไหลยังไม่ลุกติดไฟ

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อสลายกลุ่มไอระเหย เพื่อป้องกันบุคคลที่พยายามจะเข้าไปหยุดการรั่วไหล และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหลออกจากการสัมผัส

        – แนะนำให้ใช้วัสดุดูดซับตัวทำละลายกับการหกรั่วไหลของสารนี้

        – การกำจัด ไม่ควรนำสารกลับมาใช้ใหม่ ควรนำไปกำจัดเช่นเดียวกับของเสียอันตราย

        – กระบวนการใช้หรือการปนเปื้อนของสารนี้จะต้องเปลี่ยนแนวทางในการจัดการของเสียใหม่

        – การจัดการกับภาชนะบรรจุและมิได้ใช้แล้วจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับกฏหมาย ความต้องการของส่วนกลางและท้องถิ่น

         การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12282808_10207269089578994_74654600_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

         ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม Cartridge ซึ่งสามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือหรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

         ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
          หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายออกไปที่อากาศบริสุทธิ ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจลำบาก ให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

         กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป อาจจะทำให้เกิดการอาเจียนขึ้น แต่อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน หากมีอาการอาเจียนให้ผู้ป่วยเอียงศีรษะลงต่ำ เพื่อป้องกันการหายใจเอาสารที่เกิดจากการอาเจียนเข้าสู่ปอด ห้ามมิให้นำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

         สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ให้ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท่าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง

         สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
          ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

                – สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหายเมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะสลายตัวทางชีววิทยาได้ง่ายเมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะมีการระเหยอย่างรวดเร็ว เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าจะสลายตัวทางชีววิทยาได้ง่าย เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าจะมีการระเหยอย่างรวดเร็ว

                – สารนี้มีค่าสัมประสิทธิ์ค่า Log ของอ๊อกทานอลกับน้ำน้อยกว่า 3.0

                – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะสะสมสิ่งมีชีวิตได้ เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้จะสลายตัวได้ปานกลางโดยทำปฏิกิริยากับสารไฮดรอกวิล เรดิวิล ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีกับแสง เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้จะสลายตัวโดยการสังเคราะห์แสงได้ปานกลาง เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าสามารถเอาออกจากบรรยากาศได้ง่ายโดยทำให้เกิดการตกตะกอนแบบเปียก

                – ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม:

                – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ

                – ค่าความเข้มข้นที่ทำให้ปลาตายกว่าร้อยละ 50 LC50ภายใน 96 ชั่วโมงมีค่ามากกว่า 1-100 มิลลิกรัมต่อลิตร

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
          NMAM NO. :  1300 , 3800

         OSHA NO. :    69

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

         วิธีการวิเคราะห์ :         

         ข้อมูลอื่น ๆ : 

                – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg/50 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 0.5 ลิตร , 3 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :          14

         DOT Guide :   127

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

2-Methyl-2-propanol

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   2-Methyl-2-propanol

         ชื่อเคมีทั่วไป     Tert-Butyl alcohol ; T-Butanol

         ชื่อพ้องอื่นๆ      1,1-Dimethylethanol; Trimethylcarbinol; 2-Methylpropan-2-ol; Tert-Butanol; TBA; T-butyl hydroxide; Trimethyl methanol; Dimethylethanol; Methyl-2-propanol; Tertiary-butyl alcohol

         สูตรโมเลกุล      C4H10O

         สูตรโครงสร้าง        12270550_10207247592361577_1372864339_n

         รหัส IMO     12286089_10207247452278075_1668521281_n

         CAS No.        75-65-0

         รหัส EC NO.    603-005-00-1

         UN/ID No.      1120             

         รหัส RTECS     EO 1925000

         รหัส EUEINECS/ELINCS         200-889-7

         ชื่อวงศ์  Tertiary aliphatic alcohol/ tertiary alkanol/ tertiary alkyl alcohol

         ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

         แหล่งข้อมูลอื่นๆ CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
         ส่วนประกอบ:

         ชื่อ          CAS #          น้ำหนักร้อยละ
         –          75-65-0          –
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
         การใช้ประโยชน์ : ใช้ในการทำแอลกอฮอล์ให้เป็นกลาง ตัวทำลายในการผลิตยา เป็นสาร dehydration agent ใช้ในการทำน้ำหอม เป็นสารตัวกลางเคมี ทำสี ใช้ในการเตรียมเมทิลเมทาไลเลต
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
          LD50(มก./กก.) : 3500(มก./กก.)

         LC50(มก./ม3) :     –

         IDLH(ppm) :    1600 (ppm)

         ADI(ppm) :      –

         MAC(ppm) :    –

         PEL-TWA(ppm) :       100 (ppm)

         PEL-STEL(ppm) :      –

         PEL-C(ppm) :       –

         TLV-TWA(ppm) :       100 (ppm)        

         TLV-STEL(ppm) :   –

         TLV-C(ppm) :      –

         พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

         พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

         พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

         พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :   –

         พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

         หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

         สี : ไม่มีสี

         กลิ่น : เหมือการบูร

         นน.โมเลกุล :   74.12

         จุดเดือด(0ซ.) :  83

         จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 25.5

         ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.786

         ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.55

         ความหนืด(mPa.sec) :    3.35

         ความดันไอ(มม.ปรอท) :  31 ที่ 200ซ.

         ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  –

         ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  เป็นกลาง

         แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =    3.03

         มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 250ซ.

         ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :   ละลายในเอทานอล และอีเธอร์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
         สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองจมูกและคอ ทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน งง และหมดสติ กดระบบประสาทส่วนกลาง ถ้าสารเข้าไปในปอด ทำให้ปอดอักเสบ ทำให้หัวใจล้มเหลว

         สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองบวม เป็นผื่นแดง

         กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะทำให้ปวดศีรษะ วิงเวียน หมดสติ

         สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา

         การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ดูดซึมเข้าไปในเลือด แต่สามารถขับออกมาทางลมหายใจและปัสสาวะ และสารนี้ทำลายประสาท ตับ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
          ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

         สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง ทำให้เกิดการระเบิด โลหะผสมโพแทสเซียม โซเดียม เกิดการจุดติดไฟ กรดแร่แก่ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ กรดซัลฟูริก

         สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ประจุไฟฟ้าสถิตย์ ประกายไฟ เปลวไฟ และแหล่งจุดติดไฟ

         สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไม่ระบุไว้

         อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

         การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่เกิดการกัดกร่อน

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
          จุดวาบไฟ(0ซ.) :             11

         จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    478

         ค่า LEL % :     2.4

         UEL % :        8

         NFPA Code :   12277993_10207269065218385_747999914_n

          สารดับเพลิง : ให้ใช้โฟมแอลกอฮอล์ คาร์บอนไดออกไซด์ ผงเคมีแห้ง

          – สารนี้ไวไฟ

          – ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศสามารถทำให้เกิดการระเบิดที่อุณหภูมิมากกว่า 11 องซาเซลเซียส

          – ไอระเหยของสารสามารถแพร่กระจายออกไปถึงแหล่งจุดติดไฟและอาจเกิดการติดไฟและอาจเกิดการติดไฟย้อนกลับมา

          – น้ำใช้ในการดับเพลิงไม่ได้ผล ไม่สามารถทำให้สารเย็นเพราะมีจุดวาบไฟต่ำ

          – สารเคมีอันตรายจากการเผาไหม้ : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ Isobutydene

          – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้

          – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA)

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
          การเก็บรักษา :

                    – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                    – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                    – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

         สถานที่เก็บ :

                    – เก็บแยกจากสารไวไฟ การจุดสูบบุหรี่ ไม้ขีดไฟ แหล่งจุดติดไฟ

                    – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้

                    – ต่อภาชนะบรรจุลงดินและใช้อุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                    – บริเวณที่เก็บสารควรแยกจากบริเวณที่ทำงาน

                    – อย่าเก็บสารไว้ใกล้ทางออก

                    – ติดป้ายเตือนอันตราย

                    – มีอุปกรณ์กับเพลิงและอุปกรณ์ทำความสะอาดในบริเวณเก็บสารเคมี

                    – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                    – เก็บไว้ในอุณหภูมิที่บริษัทผู้ผลิตกำหนด

                    – หลีกเลี่ยงการเกิดฝุ่น

                    – ควรมีการทำความสะอาดบริเวณเก็บสารเคมี

                    – ไม่ควรมีการตัด เชื่อม จุดบริเวณใกล้สารเคมี

                    – อย่าใช้สารร่วมกับสารที่เข้ากันไม่ได้

                    – ติดฉลากที่ภาชนะบรรจุ

                    – อย่านำสารที่ใช้แล้วนำกลับไปใส่ภาชนะบรรจุใหม่

         ข้อมูลการขนส่ง :

                   ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                  ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                  หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                  ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                  ขนาดผลิตภัณฑ์ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
           – อย่าเข้าไปในบริเวณสารหกรั่วไหลจนกว่าจะมีการทำความสะอาดเสร็จ

          – ทำความสะอาดโดยบุคคลที่มีความชำนาญ

          – ย้ายแหล่งจุดติดไฟออกจากบริเวณสารหกรั่วไหล

          – ให้หยุดการรั่วไหล ถ้าสามารถทำได้โดยปราศจากความเสี่ยงอันตราย

          – ระบายอากาศบริเวณสารรั่วไหล

          – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่นๆ

          – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยทราย ดิน หรือวัสดุดูดซับที่ไม่ทำปฏิกิริยากับสาร

          – เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

          – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

           การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

       – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 1000 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม Cartridge สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือ ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

       – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือ ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือ แบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

       – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister สำหรับป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ หรือให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน พร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
                   หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

                  กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ ถ้าผู้ป่วยยังมีสติ ให้ผู้ป่วยบ้วนล้างปากด้วยน้ำ อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียนให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240-300 ml เพื่อเจือจางสารในท้อง ถ้าเกิดอาการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

                  สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนสารเคมีออกหมดนำส่งไปพบแพทย์ทันที ซักทำความสะอาดเสื้อผ้า และรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

                  สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 20 นาที หรือจนกว่าสารเคมีออกหมด ใช้นิ้วถ่างแยกเปลือกตาออก ถ้าให้น้ำล้างตาไหลมาโดนตาไม่ได้โดนสารเคมี นำส่งไปพบแพทย์ ถ้ายังมีอาการระคายเคือง

                  อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :

         – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน

         – จะไม่ก่อเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหากมีการใช้และจัดการกับสารอย่างเหมาะสม

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  1400

         OSHA NO. :    07

         วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

         วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

         ข้อมูลอื่น ๆ : 

         – การเก็บตัวอย่างใช้ coconut shell charcoal 100 mg./50 mg.

         – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 0.01 ถึง 0.2 ลิตรต่อนาที

         – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 1 ลิตร , 10 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
         AVERS Guide :          16

         DOT Guide :               129

         – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

         – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557