คลังเก็บหมวดหมู่: วัตถุกัดกร่อน

Cuprous chloride

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Copper (I) chloride

        ชื่อเคมีทั่วไป    Copper chloride

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Copper chloride; Cuprous monochloride; Copper monochloride

        สูตรโมเลกุล      CuCl

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์27

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        7758-89-6

        รหัส EC NO.  029-001-00-4

        UN/ID No.      2802                  

        รหัส RTECS    GL 6990000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        231-842-9

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  Alfa Aesar, A Johnson Matthey Company Joknson Matthey Catalog Company, Ine

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 7758-89-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้ในกระบวนการแยกสารด้วยไฟฟ้า
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 140 (หนู) (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :   1008 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      0.0125 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง : สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ผง,ของแข็ง

        สี : สีขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  98.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  1490

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :  430

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        4.14

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  0.99 ที่ 546 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  5 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.05     

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :  –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ และต่อเยื่อเมือก

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป จะทำให้มีการอาเจียน เป็นเกิดแผลในกระเพาะอาหาร และมีอาการวิงเวียน และเกิดเป็นโรคโลหิตจางได้

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา ทำให้เกิดการระคายเคืองตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่จัดเป็นสารก่อมะเร็งตามทะเบียนรายชื่อ EPA, IARC, NTP, OSHA หรือ ACGIA

        การสัมผัสเรื้อรัง: สารประกอบของคอปเปอร์จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง และระบบทางเดินหายใจ เป็นไข้ ภาวะเม็ดเลือดแดงแตก ทำอันตรายต่อตับ ปอด ไต และตับอ่อน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : ไม่ระบุไว้

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : น้ำ ความชื้น สารออกซิไดซ์ แสงสว่าง และอากาศ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCI) การสลายตัวจะไม่เกิดขึ้นถ้ามีการใช้และการเก็บไปตามข้อกำหนดที่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   –

         สารดับเพลิง : กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิงที่เหมาะสมสำหรับสภาพเกิดเพลิงโดยรอบ

                – สารนี้ไม่ไวไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมชุดป้องกันสารเคมี

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในที่ที่แห้งและเย็นและมีการระบายอากาศที่ดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากน้ำ ความชื้น และสารออกซิไดซ์

                – ให้เก็บภายใต้ก๊าซเฉื่อย และเก็บไว้ในที่มืด

                – ป้องกันการทำให้เกิดฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : คอปเปอร์คลอไรด์

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : –

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุกรณีรั่วไหล ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย และควบคุมบุคคลที่ไม่ได้สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายออกจากพื้นที่

        – ต้องแน่ใจว่ามีวิธีการระบายอากาศอย่างเพียงพอ

        – อย่าให้สารเคมีรั่วไหลออกสู่สิ่งแวดล้อมโดยไม่ได้รับการอนุญาตของหน่วยงานราชการ

        – ให้ใช้น้ำฉีดทำความสะอาดหัวจากการเก็บกวาดเรียบร้อยแล้วบริเวณที่หกรั่วไหล

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่โดยให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาโดยทันทีด้วยน้ำปริมาณมากๆ โดยให้น้ำไหลผ่าน นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : 

                  – เมื่อรั่วไหลสู่แหล่งน้ำ สารนี้จะเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้ำ

                  – ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ, น้ำเสีย หรือดิน

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  

        OSHA NO. :    

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :    

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :              154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Chromium Oxide

ส่วนที่ 1ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  –

        ชื่อเคมีทั่วไป    Chromium trioxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Chromium anhydride; Chromium (VI) Oxide; Chromic Anhydride; Chromic Trioxide; Monochromium Oxide; Chromium (VI) Oxide (1:3); Chromerge; Chromium (VI) trioxide; Chromium oxide; Monochromium trioxide; Chromium trioxide (CrO3); Chromium Oxide (Chromic Anhydride);

        สูตรโมเลกุล      CrO3

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์26

        รหัส IMO     12305387_10207267050808026_116692330_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        1333-82-0

        รหัส EC NO.  –

        UN/ID No.      1463        

        รหัส RTECS    GB 6650000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        215-607-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า  www.J.T.Baker .com

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ  –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1333-82-0         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ :  ใช้ในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 80 (มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :

        IDLH(ppm) :  3.75 (ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :      0.024 (ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :      0.024 (ppm)

        TLV-TWA(ppm) :      0.012(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :            –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541  :      เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 3

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของแข็ง

        สี : แดงเข้ม

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  99.99

        จุดเดือด(0ซ.) :  250

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 197

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        2.7

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    3.4

        ความหนืด(mPa.sec) :   –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  ต่ำมาก

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  63

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  <-1 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  4.09

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.25 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : อุณหภูมิสลายตัว > 230 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปเนื่องจากสารนี้กัดกร่อนจะทำเกิดการทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก และทางเดินหายใจส่วนบน ทำให้เกิดเป็นแผลพุพอง และเกิดรูพรุน ต่อผนังกั้นโพรงจมูก และทำให้เกิดอาการอักเสบต่อลำคอ เกิดอาการไอ หายใจถี่รัว และหายใจลำบาก อาจทำให้เกิดอาการที่เกี่ยวกับปอด หรืออาการภูมิแพ้จากโรคหืด การสัมผัสกับสารในปริมาณมาก อาจทำให้เกิดอาการน้ำท่วมปอดได้

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนัง เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนจะเกิดอาการผื่นแดง เจ็บปวด และแผลไหม้อย่างรุนแรง ฝุ่นและสารละลายเข้มข้นจะเป็นเหตุให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง เมื่อสัมผัสกับผิวหนังที่แตกหรือเป็นแผลจะทำให้เกิดแผลพุพอง (Chrome sores) และการดูดซึมถ้าเข้าสู่ร่างกายเป็นสาเหตุทำให้เกิดความเป็นพิษ มีผลกระทบต่อการทำงานของไต และตับ จะเป็นเหตุให้ผิวหนังไวต่อสิ่งกระตุ้น

        กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดเพลิงไหม้ บริเวณปาก, คอ, และกระเพาะอาหาร อาจทำให้เสียชีวิตได้ ทำให้เกิดอาการเจ็บคอ, อาเจียน, ท้องร่วง, การอักเสบของลำไส้, เส้นเลือดหดตัว, วิงเวียนศรีษะ, กระหายน้ำ, เกิดตะคริว, หมดสติ, มีอาการโคม่า, การไหลเวียนเลือดผิดปกติ, ไข้, เกิดการทำลายตับ และไตวายเฉียบพลัน

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาเนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ทำให้ตาพล่ามัวมองไม่ชัด ตาแดง ปวดตา และเกิดแผลไหม้อย่างรุนแรง อาจก่อให้เกิดบาดเจ็บต่อกระจกตาหรือตาบอดได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สัมผัสเรื้อรังการสัมผัสซ้ำ ๆ กันหรือเป็นเวลายาวนานจะทำให้เป็นแผลพุพอง และเกิดรูของผนังแบ่งกั้นโพรงจมูก ทำให้ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ ตับและไตถูกทำลาย เป็นแผลพุพองของผิวหนัง การเป็นแผลพุพองเริ่มแรกจะไม่มีอาการเจ็บปวด แต่จะทะลุเข้าไปถึงกระดูกทำให้เกิดรูพรุน (Chrome holes) สารนี้เป็นสารมะเร็งต่อมนุษย์

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรเมื่ออยู่สภาวะ การใช้งานและการเก็บปกติ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารที่สามารถติดไฟได้ สารอินทรีย์ หรือสารที่สามารถเกิดออกซิไดซ์ได้อย่างรวดเร็ว เช่น กระดาษ ไม้ ซัลเฟอร์ อลูมิเนียม หรือพลาสติก, สารหนู แก๊ซแอมโมเนีย ไฮโรเจนซัลไฟล์ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม โซเดียม และเซเลเนียม ทำให้เกิดความร้อน และเกิดการกัดกร่อนแก่โลหะ

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ควรหลีกเลี่ยงจากความร้อนที่สูงเกินและการเกิดการเผาไหม้หรือสารอินทรีย์

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหม้ อาจก่อให้เกิดโครเมียมออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ :  ไม่มีอันตราย

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  –

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :   301

         สารดับเพลิง : สารดับเพลิงให้ใช้น้ำ อย่างไรก็ตามสารจากการสลายตัวจะทำให้เกิดฟองที่เหนียวและต้องระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้จากการระเบิดของลำน้ำ

                – การเกิดระเบิดเมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซ์จะก่อให้เกิดการเผาไหม้อย่างรุนแรง

                – ภาชนะบรรจุสามารถเกิดการระเบิดขึ้นได้เมื่อเกิดการเผาไหม้

                – สารนี้ไม่ติดไฟ แต่เป็นสารออกซิไดซ์อย่างแรงและสามารถเกิดปฏิบัติความร้อนกับสารรีดิวซ์ หรือสารที่สามารถลุกติดไฟได้ทำให้เกิดการจุดติดไฟขึ้น

                – จะจุดติดไฟเมื่อสัมผัสกับกรดอะเซติก และแอลกอฮอล์

         การเผาไหม้ : ทำให้เกิดก๊าซออกซิเจนขึ้นจากการสลายตัว

                – ข้อมูลพิเศษในเหตุการณ์เกิดเพลิงไหม้ ควรสวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังออกซิเจน (SCBA) ในตัวพร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง และระบายอากาศได้ดี

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บให้ห่างจากแหล่งที่มีความร้อน แหล่งที่มีประกายไฟ ความชื้น และสารที่เข้ากันไม่ได้

                – ไม่ควรเก็บไว้บนพื้นที่ทำให้ด้วยไม้

                – ควรสวมใส่อุปกรณ์ที่ป้องกันอันตรายสำหรับงานบำรุงรักษาซึ่งจะต้องสัมผัสกับสารนี้ในปริมาณมากเกิน

                – ล้างมือ หน้า แขน และคอเมื่อออกจากสถานที่ควบคุมปฏิบัติงาน อาบน้ำ ควรเปลี่ยนเสื้อผ้า ชั้นนอกและทำความสะอาดเสื้อผ้าหลังเลิกงานทุกวัน

                – หลีกเลี่ยงเสื้อผ้าที่มีการปนเปื้อนสารเคมี และล้างมือก่อนที่จะมีการรับประทานอาหาร

                – ไม่ควรรับประทานอาหาร ดื่ม หรือสูบบุหรี่ในที่ที่มีการปฏิบัติงาน

                – ภาชนะที่บรรจุสารเคมี ที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ฝุ่น ของแข็ง อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ และให้ดูป้ายเตือน และอ่านข้อความระมัดระวังก่อนการใช้งาน

        ข้อมูลการขนส่ง 

                ชื่อในการขนส่ง : RQ CHROMIUM TRIOXIDE, ANHYDROUS

                ประเภทอันตราย : 5.1

                หมายเลข UN : UN 1463

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติกรณีเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล : ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – เก็บกวาดและบรรจุใส่ภาชนะสำหรับเก็บคืนหรือนำไปกำจัด

        – การดูดหรือการกวาดขณะชื้นสามารถใช้ได้เพื่อหลีกเลี่ยงการแพร่กระจายของฝุ่น

          การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) :     ควรเลือกใช้ถุงมือประเภท Polyvinyl chloride Vinyl แต่ควรหลีกเลี่ยงถุงมือประเภท Unsupported Neopnene Supperted Polyvinyl alcohol Natural Rubber และ Neoprene Natural Rubber

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป : ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปอยู่ในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดการหายใจ ให้ช่วยผายปอด ถ้าผู้ป่วยหายใจลำบาก ให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากินหรือการกลืนเข้าไป อย่าทำให้ผู้ป่วยเกิดการอาเจียน ควรให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ถ้าผู้ป่วยหมดสติห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากและให้อยู่ในความดูแลของแพทย์โดยทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก และทำความสะอาดเสื้อผ้า รองเท้าก่อนนำมาใช้อีกครั้ง นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตาให้ล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ ๆ ขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์

         อื่นๆ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :  สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อสารเคมีรั่วไหลสู่ดิน

                  – สารนี้จะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน เมื่อสารเคมีรั่วไหลสู่น้ำ

                  – สารนี้ไม่สามารถคาดได้ว่าจะระเหยได้ เมื่อสารเคมีรั่วไหลสู่อากาศ

                  – สารเคมีจะเคลื่อนย้ายไปสู่ชั้นบรรยากาศ

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  7600, 7604

        OSHA NO. :    103, 215

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      กระดาษกรอง

        วิธีการวิเคราะห์ :         สเปคโตโฟโตมิเตอร์

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : 5.0 um PVC membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 1-4 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 8 ลิตร สูงสุด 400 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          30

        DOT Guide :              141

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Ammonium fluoride

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  Ammonium fluoride

        ชื่อเคมีทั่วไป    –

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Neutral ammonium fluoride

        สูตรโมเลกุล      FH4N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์12

        รหัส IMO        12283340_10207256009451999_60499863_n12309051_10207268096954179_1768263646_n

        CAS No.    12125-01-8     

        รหัส EC NO.    009-006-00-8

        UN/ID No.      2505              

        รหัส RTECS    BQ 6300000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        235-185-9

        ชื่อวงศ์        Inorgonic Salf

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า       EM SCIENCE

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 12125-01-8              
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารสำหรับการแยกสารไนโอเนียม         
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    31 (หนู)(มก./กก.)     

        LC50(มก./ม3) :              –

        IDLH(ppm) :     –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         2.5 (ppm)        

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         2.5 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง   :   สารเคมีอันตราย

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         ชนิดที่ 1

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผลึก

        สี : ขาว

        กลิ่น : ไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  37.04

        จุดเดือด(0ซ.) : –

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    –

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.015

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    6 ที่ 20 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =   1.52

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.66 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : –

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : ถ้าหายใจเข้าไป จะรบกวนการเต้นของหัวใจ อาจทำให้เสียชีวิต

        สัมผัสทางผิวหนัง : ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ทำให้แสบไหม้

        กินหรือกลืนเข้าไป : ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป จะเป็นพิษที่กระเพาะอาหารและลำไส้ มีอาการของกระดูกเนื่องมาจากฟลูออรีน อาการชัก หลอดเลือดผิดปกติ อาจทำให้เสียชีวิต

        สัมผัสถูกตา : ถ้าสัมผัสถูกตา ทำให้แสบไหม้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ : สารนี้ไม่เป็นสารก่อมะเร็ง ตามบัญชีรายชื่อของ IARC, NTP, OSHA

                – สารนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรคาร์บอนมอนนอกไซด์, คาร์บอนไดออกไซด์, ควัน และไอระเหย

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด, CIF3

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: อุณหภูมิสูง

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ฟลูออไรด์, แอมโมเนีย, ไนโตรเจนออกไซด์ (NOX)

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    –

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    –

         สารดับเพลิง : ในกรณีเกิดเพลิงไหม้ให้ใช้น้ำฉีดเป็นฝอย ผงเคมีแห้ง

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) และชุดป้องกัน

                – การสลายตัวเนื่องจากความร้อนจะทำให้เกิดฟูม / ก๊าซพิษออกมา

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – อย่าหายใจเอาฝุ่นหรือไอระเหยของสารเข้าไป

                – อย่าให้สัมผัสถูกตา, ผิวหนัง หรือเสื้อผ้า

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้เคลื่อนย้ายออกจากบริเวณที่มีการหกรั่วไหล

         – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม

         – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

         – ล้างบริเวณสารหกรั่วไหล หลังจากสารเคมีถูกเก็บกวาดเรียบร้อยแล้ว

        การพิจารณาการกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ล้างบริเวณที่สัมผัสด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ระบุไว้
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : –  

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –

        วิธีการวิเคราะห์ :         –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  เมื่อรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ จะเป็นอันตรายต่อแหล่งน้ำดื่ม

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 39

        DOT Guide :   154

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

4-Nitroaniline

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
        ชื่อเคมี IUPAC  1-Amino-4-nitrobenzene

        ชื่อเคมีทั่วไป    P-aminonitrobenzene

        ชื่อพ้องอื่นๆ      4-Nitrobenzenamine; PNA; C.I. 37035; 4-Nitroaniline; P-nitrophenylamine; Azofix red gg salt; Azoic diazo component 37; C.I. developer 17; Developer P; Devol red gg; Diazo fast red gg; Fast red base 2j; Fast red base gg; Fast red 2g base; Fast red 2g salt; Shinnippon fast red gg base; Fast red salt 2j; Fast red salt gg; Nitrazol cf extra; Red 2g base; Fast red gg base; Fast red mp base; Fast red p base; Fast red p salt; Naphtoelan red gg base; Azoamine red 2H; C.I. azoic diazo component 37; 4-Nitroanilene;

        สูตรโมเลกุล      C6H6N2O2

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์7

        รหัส IMO        12305967_10207256021172292_1807016644_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.  100-01-6 , 88-74-4        

        รหัส EC NO.    612-012-00-9

        UN/ID No.      1661             

        รหัส RTECS BY 7000000

        รหัส EUEINECS/ELINCS        202-810-1

        ชื่อวงศ์         –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า        –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ       –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 100-01-6 , 88-74-4             
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสาร azo copling สีย้อมปฐมภูมิ และใช้ในทางการแพทย์
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    –

        LC50(มก./ม3) :         –

        IDLH(ppm) :    53.1 (ppm)     

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         1 (ppm)        

        PEL-STEL(ppm) : –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :         1 (ppm)

        TLV-STEL(ppm) :    –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535  :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :  เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :         –

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :        –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผลึก

        สี : เหลือง

        กลิ่น : เกือบไม่มีกลิ่น

        นน.โมเลกุล :  138.1

        จุดเดือด(0ซ.) : 332

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) :    148

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        1.424

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.8

        ความหนืด(mPa.sec) :        –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    0.0015 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ไม่ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :    ~ 7 ที่200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.648   

        มก./มหรือ 1 มก./ม3 =   0.177 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : ละลายในน้ำ แอลกอฮอล์ อีเธอร์ เบนซีน เมทานอล

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ : การสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ จะทำให้มีอาการเจ็บคอ , หายใจถี่ๆ , เวียนศีรษะ , ผิวหนังซีดเป็นสีน้ำเงิน , อ่อนเพลีย

        สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง สารนี้สามารถซึมผ่านหนังได้ , ผื่นแดง , อาการคล้ายคลึงกับการสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนกินสารนี้เข้าไป จะทำให้มีอาการเจ็บในช่องท้อง , คลื่นไส้ , อาการคล้ายคลึงกับการสัมผัสสารนี้ทางการหายใจ

        สัมผัสถูกตา : การสัมผัสสารนี้ทางตา จะทำให้มีอาการตาแดง , ปวดตา

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การได้รับสารในปริมาณมากอาจเป็นอันตรายถือชีวิต ทำลายตับและเลือด

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้สลายตัวเมื่อถูกความร้อน

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: หลีกเลี่ยงไม่ให้สารนี้สัมผัสกับความชื้น , สารอินทรีย์ และกรดซัลฟูริก

                – หลีกเลี่ยงการทำให้สารนี้เป็นผงฝุ่น

                – สารเคมีอันตรายจากการสลายตัว ไอพิษของไนตรัส

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : ไม่ระบุไว้

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            199

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    521

        ค่า LEL % :     –

        UEL % :        –

        NFPA Code :    312

         สารดับเพลิง : น้ำ , ผงดับเพลิง

                – สารนี้เป็นสารไวไฟ

                – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อหล่อเป็นภาชนะที่กำลังถูกไฟไหม้

                – ไอระเหยของสารนี้ถ้าผสมกับอากาศอาจจะเกิดระเบิดขึ้นได้

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในบริเวณที่แห้ง

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดแน่นสนิท

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บสารให้จากเปลวไฟ , ประกายไฟ

                – เก็บแยกจากสารที่เผาไหม้ได้และสารอินทรีย์

                – ห้ามสูบบุหรี่บริเวณที่เก็บรักษาสารนี้

                – เก็บในที่อุณหภูมิ +15 ถึง +25 องศาเซลเซียส

                – เข้าได้เฉพาะผู้ที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : –

                ประเภทอันตราย : 6.1

                หมายเลข UN : 1661

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : 2

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – การกำจัดกรณีสารนี้หกรั่วไหล เก็บกวาดสารที่หกรั่วไหลด้วยความระมัดระวัง และเคลื่อนย้ายไปในที่ที่ปลอดภัย

         – ใช้ภาชนะที่ปิดมิดชิดและใช้อุปกรณ์ที่ป้องกันการระเบิด

         – ควบคุมการเกิดฝุ่น

         – กวาดขณะที่แห้ง เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
        หายใจเข้าไป :    ถ้าหายใจเอาสารนี้เข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ให้ผู้ป่วยพักผ่อน นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :  ถ้ากลืนกินสารนี้เข้าไปให้ล้างปากด้วยน้ำ แล้วนำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :   ถ้าสัมผัสสารนี้ทางผิวหนัง ฉีดล้างผิวหนังด้วยสบู่และน้ำ ถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อน นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :  ถ้าสารนี้เข้าตาให้ฉีดล้างตาด้วยน้ำ นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา :  ห้ามทิ้งลงสู่ระบบน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 5033         

        OSHA NO. :   –

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      –    

        วิธีการวิเคราะห์ :          –

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ 0.8 UM mixed collulose ester membrane

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง 1 ถึง 3 ลิตรต่อนาที

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด 16 ลิตร , 30 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 38

        DOT Guide :   153

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

n-Butylamine

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   1-Butanamine

        ชื่อเคมีทั่วไป     N-butylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ      1-Aminobutane; Aminobutane; Butyl amine; Norralamine; Mono-n-butylamine; Tutane; Monobutylamine

        สูตรโมเลกุล      C4H11N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์140

        รหัส IMO  12286089_10207247452278075_1668521281_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        109-73-9

        รหัส EC NO.    612-005-00-0

        UN/ID No.      1125            

        รหัส RTECS     EO 2975000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-699-2

        ชื่อวงศ์                   

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า         JT. Kaker .Inc

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          –

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 109-73-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) :    366 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :  800/ 4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :     300(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         5(ppm)      

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :        5(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :        5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใสไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   73.4

        จุดเดือด(0ซ.) : 78

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -49

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.74

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.5

        ความหนืด(mPa.sec) :       0.5

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :    82 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :     12.6 ที่ 25 0ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =     3.00

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ :  การหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและลำคอ ทำให้ปวดศีรษะ และน้ำท่วมปอดได้ ถ้าได้รับไอระเหยที่ระดับความเข้มข้นสูงจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด ไอ เจ็บหน้าอก เวียนศีรษะ เกิดอาการชักกระตุกอย่างรุนแรง ง่วงซึม และอาจหมดสติได้ แต่ตามสมบัติของสารนี้จะทำให้เกิดการระคายเคืองเมื่อมีสถานะเป็นไอระเหย

        สัมผัสทางผิวหนัง :  การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังไหม้ สารนี้สามารถถูกดูดซึมผ่านผิวหนัง ซึ่งทำให้เกิดอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไปได้

        กินหรือกลืนเข้าไป :  การกลืนหรือกินเข้าไป จะมีอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไป และทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณปาก คอ รวมทั้งกระเพาะอาหารและลำไส้ ซึ่งถ้าได้รับปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา :  การสัมผัสถูกตา ไอของสารจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ทำให้เกิดการทำลายตา และทำให้สูญเสียการมองเห็นได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การสัมผัสเรื้อรัง การสัมผัสถูกผิวหนังนานๆหรือบ่อยๆจะทำให้เกิดอาการผิวหนังอักเสบ อวัยวะเป้าหมาย ตา ผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความคงตัวภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ สารเปอร์คลอริวฟลูออไรด์ และกรดเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : การลุกไหม้จะทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           -12

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :    312

        ค่า LEL % :     1.7

        UEL % :        9.8

        NFPA Code :    12286090_10207280455623138_1983312831_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟมหรือคาร์บอนไดออกไซด์

                – การระเบิด : ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศจะระเบิดได้ภายใต้ขีดจำกัดความไวไฟที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ ไวต่อประจุไฟฟ้าสถิตย์

                – ไอระเหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทเมื่อสัมผัสถูกความร้อนอาจทำให้เกิดการระเบิดขึ้นได้

                – การสัมผัสกับสารออกซิไดซ์มากๆ อาจจะทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

                – อย่าใช้การฉีดน้ำเป็นลำตรง ลำน้ำจะทำให้สารเคมีและเปลวไฟแพร่กระจาย

                – ให้ใช้การฉีดน้ำเป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหรือหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงใหม้ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

                – การเคลื่อนย้ายและการเก็บรักษา มีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – แยกเก็บจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บภายนอกอาคารหรือแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ให้ออกห่างจากพื้นที่ใดๆที่อาจเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลัน

                –  มีการระบายอากาศเพื่อป้องกันการเกิดระเบิด

                – ไม่ควรสูบบุหรี่บริเวณที่เก็บสารเคมีนี้

                – ให้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อเชื่อมหรือต่อลงดินเพื่อป้องกันการเกิดประกายไฟจากไฟฟ้าสถิตย์

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้ที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตก้างอยู่ เช่น ไอระเหย และของเหลว อาจทำให้เกิดอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : BUTYLAMINE

                ประเภทอันตราย : 3.2 , 8

                หมายเลข UN : UN 1125

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้ทำการกันแยกบริเวณพื้นที่ที่อันตราย และกันบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องห้ามเข้าในบริเวณนี้

        – ให้เก็บรวมรวมของเหลวที่รั่วไหล และนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถ้าเป็นไปได้

        – ให้ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยวัสดุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย(vermiculite) ทรายแห้ง ดิน และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสีย

        – อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย ในการดูดซับสาร

        – อย่าเททิ้งลงท่อระบายน้ำ

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดไอระเหย

        – แนะนำให้ใช้ตัวทำละลายของสารนี้เป็นตัวดูดซับเมื่อมีการหกรั่วไหล

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n12282808_10207269089578994_74654600_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

               – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 300 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

               – ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

               – ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ การปฐมพยาบาล ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ ห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก ให้ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าให้สะอาดก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ค่อยๆฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ :   กรณีการสัมผัสสารในปริมาณมากให้ทำการติดตามผลของการเกิดอาการน้ำท่วมปอดในระยะยาว

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน

                – สารนี้จะสลายตัวทางชีววิทยาเหลือความเข้มข้นปานกลางเมื่อรั่วอยู่ในดิน

                – สารนี้ระเหยในความเข้มข้นปานกลาง เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าจะไม่สะสมในสิ่งมีชีวิต

                – สารนี้มีค่าความเข้มข้นทางชีวภาพ(BCF) โดยประมาณน้อยกว่า 100

                – สารนี้คาดว่ามีการระเหยอย่างรวดเร็ว เมื่อรั่วไหลลงสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าสามารถสลายตัวได้ง่ายโดยทำปฏิกิริยาเคมีเมื่อถูกแสงทำให้เกิดไฮดรอกซิล เรดิเคิล เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง(halrtife) ภายในเวลาน้อยกว่า 1-10 วัน เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าสามารถเอาออกจากบรรยากาศได้ง่ายโดยเกิดการตกตะกอนแบบเปียก

                – ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม : ไม่พบข้อมูลที่ต้องการค้นหา

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 2012

        OSHA NO. :  

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :          แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ : หลอดชนิด Sillica gel tube 150 mg /75 mg

                – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01 ถึง 1 ลิตร

                – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 2 ลิตร สูงสุด 100 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide : 19

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Dibutylamine

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   N-butyl-1-butanamine

        ชื่อเคมีทั่วไป     Dibutylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Di-n-butylamine; N,N-dibutylamine; N-dibutylamine

        สูตรโมเลกุล      C8H19N

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์131

        รหัส IMO       12286089_10207247452278075_1668521281_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        111-92-2

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      2248            

        หัส RTECS     HR 7780000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-921-8

        ชื่อวงศ์                     Saturated aliphatic amine

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า           –

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ          CHEMINFO

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 111-92-2         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชั่นของฟอมัลดีไซด์ ใช้เป็นสารยับยั้งการกัดกร่อน ใช้เป็นตัวทำละลายใช้ในกระบวนการผลิตยาฆ่าแมลง พอลิเมอร์ ยาง ย้อมผ้า
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 550 , 189 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :              >2/ – ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       N/E

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      N/E

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ไม่มีสี

        กลิ่น : กลิ่นคล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   129.28

        จุดเดือด(0ซ.) :  159

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : (-60)-(-59)

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.76

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    4.5

        ความหนืด(mPa.sec) :    0.9

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  1.9-2.2 ที่ 20 0ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  0.31

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  12.2

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  5.29

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.19 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่นๆ : สารนี้สามารถละลายได้ในแอลกอฮอล์

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปไอระเหยและละอองสามารถทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูก คอ ปอด เกิดอาการเจ็บคอ ไอ เจ็บหน้าอก หายใจถี่รัว หายใจติดขัด ที่ความเข้มข้นสูงๆ จะทำให้ปอดบวม และอาจถึงตายได้ รวมทั้งอาการปวดศรีษะ คลื่นไส้ เป็นลมหมดสติ จิตใจกังวล ซึ่งเป็นอาการของระบบประสาท

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนัง จะทำให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง ปวดแสบปวดร้อน แผลไหม้ สัมผัสนาน ๆ สารนี้อาจซึมผ่านผิวหนังได้ทำให้เกิดอาการปวดศรีษะ คลื่นไส้ เป็นลมหมดสติ จิตใจกังวล ซึ่งเป็นอาการของระบบประสาท

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหนือกินเข้าไปจะทำให้เกิดแผลไหม้ที่ปาก ลำคอ ระบบทางเดินอาหาร เกิดอาการปวดศรีษะ คลื่นไส้ เป็นลมหมดสติ จิตใจกังวล ซึ่งเป็นอาการของระบบประสาท

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อตาอย่างรุนแรง ตาแดง เจ็บตา สัมผัสมากๆ อาจเกิดแผลไหม้ และปวดเจ็บอย่างถาวร สายตาพร่ามัว

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ สารนี้ทำลายตา และระบบหายใจ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียร

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์อย่างแรง คาร์บอนไดออกไซด์ สังกะสี เหล็กชุบสังกะสี และทองแดง

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ความร้อน และความเย็นสูง ๆ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการเผาไหม้หรือสลายตัวเนื่องจากความร้อน : คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนนอกไซด์ และไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           41

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   260

        ค่า LEL % :     1.1     

        UEL % :        10     

        NFPA Code :    320

         สารดับเพลิง : ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม โฟลีเมอร์โฟม คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำฉีดเป็นฝอย

                – สารนี้เป็นสารติดไฟได้

                – สามารถเกิดการระเบิดได้เมื่อผสมกับอากาศที่อุณหภูมิสูงกว่า 41 องศาเซลเซียส

                – ในระหว่างเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ ที่ทำให้ระคายเคืองและเป็นพิษ

                – สารดับเพลิงไห้ใช้ ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟม โฟลีเมอร์โฟม คาร์บอนไดออกไซด์ น้ำฉีดเป็นฝอย

                – ให้อพยพบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากพื้นที่เพลิงไหม้ ควรอยู่หนือลมเพื่อป้องกันควันพิษ

                – ใช้น้ำฉีดดับเพลิงเพื่อหล่อเย็นและปกป้องสารเคมีสัมผัสถูกเพลิงไหม้

                – สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่เย็น และแห้ง มีการระบายอากาศดี

                – เก็บห่างจากแสงสว่างและแหล่งความร้อนต่าง ๆ

        สถานที่เก็บ :

                – บริเวณที่เก็บควรอยู่ห่างจากบริเวณที่ทำงาน

                – ไม่ควรมีการสูบบุหรี่ในบริเวณที่เก็บสาร

                – เก็บห่างจากสารออกซิไดซ์ สารกัดกร่อย กรดแก่ กรดคลอไรด์หรือปรอท

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – ก่อนการเคลื่อนย้ายควรสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : Di-n-butylamine

                ประเภทอันตราย : 8 , 3

                หมายเลข UN : UN 2248

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม II

                รายงานข้อมูลสำหรับผลิตภัณฑ์ / ขนาด : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – จำกัดพื้นที่จนกว่าจะทำความสะอาดเสร็จ สวมชุดป้องกันให้อยู่ในที่ที่มีการถ่ายเทอากาศ ดับหรือเคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟออกไปทั้งหมด

        – สารหกเล็กน้อย ใช้วัสดุดูดซับคลุมสารที่หกรั่วไหลออกมา และเก็บสารในภาชนะบรรจุที่เหมาะสม เก็บให้มิดชิด ติดฉลากและล้างบริเวณที่สารหกด้วยน้ำ

        – สารหกปริมาณมาก ติดต่อหน่วยงานฉุกเฉินเพื่อขอคำแนะนำ

        การกำจัด : วิธีการกำจัด ให้กำจัดตามข้อกำหนด กฎระเบียบของทางราชการกำหนดไว้

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12309022_10207269202381814_1401123889_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ไม่ระบุไว้

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ห้ามให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยหมดสติ ล้างปากด้วยน้ำสะอาด อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ผู้ป่วยดื่มน้ำ 240 ถึง 300 มิลลิลิตร (8 ถึง 10 ออนซ์) เพื่อเจือจางสารเคมีในกระเพาะอาหาร (หรือนมก็ได้ ) ถ้าผู้ป่วยเกิดอาเจียนเอง ให้ดื่มน้ำอีก แล้วนำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :          ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ล้างด้วยน้ำสะอาด 20-30 นาที ถ้ามีอาการระคายเคืองให้ฉีดน้ำล้างต่อไป พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ทิ้งเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปื้อนสารไป

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดน้ำไหลผ่าน 20-30 นาที เปิดเปลือกตาขณะล้างด้วย ใช้น้ำเกลือล้างตาถ้าจำเป็น อย่าให้น้ำล้างตาไหลโดนหน้าหรือตา ถ้าอาการระคายเคืองอยู่ให้ล้างตาต่อไป นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :  ไม่ระบุไว้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         – ห้ามทิ้งลงสู่แหล่งน้ำ น้ำเสีย หรือดิน
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2010

        OSHA NO. :    95-3

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

                – การเก็บตัวอย่างใช้ silica gel sorbent tube

                – การวิเคราะห์ตัวอย่างใช้ GC ที่มี flame ionization detector

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          38

        DOT Guide :               132

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
         อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

Ammonium hydroxide (solution)

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Ammonium hydroxide

        ชื่อเคมีทั่วไป     Ammonium hydroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Aqua ammonia; Ammonia Water; Ammonium, aqueous; Ammonia, monohydrate; Aqueous Ammonia; Ammonia-15N; Ammonium Hydroxide, Redistilled;

        สูตรโมเลกุล      NH4OH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์117

        รหัส IMO  12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        1336-21-6

        รหัส EC NO.    007-001-00-5

        UN/ID No.      2672              

        รหัส RTECS    BQ 9625000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         215-647-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T. Baker INC

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1336-21-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 350 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        2860/4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       50(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      25(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      35(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   35.05

        จุดเดือด(0ซ.) :  36

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -72

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.9

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :    –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  115ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11.6

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.43

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.70 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ หารหายใจหาสารทีความเข้มข้นสูง เข้าไปจะก่อให้เกิดแผลไหม้ น้ำท่วมปอดและอาจตายได้ ความเข้มข้นที่อาจทำให้ตายได้คือ 5000 ppm

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองและเกิดแผลไหม้ได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร และอาจทำให้เยื่อบุช่องท้องทะลุหรืออักเสบ ทำให้เกิดอาการปวดในปาก , อก , ท้อง , เกิดอาการไอ , อาเจียน และหมดสติได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง จะทำให้เกิดอาการปวดตา , เกิดการทำลายตา และอาจทำให้ตาบอด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

                – สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก ตับ ไต กระเพาะปัสสาวะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด , อะโคลิน , ไดเมทิลซัลเฟต , ฮาโลเจน , ซิลเวอร์ไนเตรท , โพไพลีนออกไซด์ , ไนโตรมีเทน , ซิลเวอร์ออกไซด์ , เงิน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน แสงแดด สารที่เข้ากันไม่ได้ และแหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหม้จะทำให้เกิดแอมโมเนียและไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   615

        ค่า LEL % :     16

        UEL % :        25     

        NFPA Code :   310

         สารดับเพลิง : ไม่ระบุไว้

                – ไอระเหยของสารสามารถเกิดการสะสมในบริเวณที่เป็นสถานที่รับอากาศได้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้ และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหล หรือไอระเยหที่ยังไม่ติดไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก NIOSH พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ และเก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส และหลีกเลียงการสัมผัสกับแสงโดยตรง

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ไอระเหย , ของเหลว )

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Ammonia Solution

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : UN 2672

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้ระบายอากาศบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม และกันบุคคลที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหล หรือของเหลวเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ถ้าสามารถทำได้

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่น ๆ

        – ให้ทำการเจือจางส่วนที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ หรือทำให้เป็นกลางโดยกรด เช่น อะซีติก , ไฮโดรคลอริก , ซัลฟูริก

        – ให้ดูดซับด้วยดินเหนียว , แร่หินทราย หรือสารที่เฉื่อย และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

                 แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 250 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 240 นาที และให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :    การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการละลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สารนี้มีพิษต่อสิ่งแวดล้อม ชีวิตสัตว์ และพืชน้ำ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Ammonium hydroxide

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Ammonium hydroxide

        ชื่อเคมีทั่วไป     Ammonium hydroxide

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Aqua ammonia; Ammonia Water; Ammonium, aqueous; Ammonia, monohydrate; Aqueous Ammonia; Ammonia-15N; Ammonium Hydroxide, Redistilled;

        สูตรโมเลกุล      NH4OH

        สูตรโครงสร้าง   สไลด์117

        รหัส IMO  12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        1336-21-6

        รหัส EC NO.    007-001-00-5

        UN/ID No.      2672              

        รหัส RTECS    BQ 9625000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         215-647-6

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T. Baker INC

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 1336-21-6         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ใช้เป็นสารเคมีในห้องปฏิบัติการ
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 350 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :        2860/4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :       50(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :      25(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :      35(ppm)

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :           ชนิดที่ 2

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   35.05

        จุดเดือด(0ซ.) :  36

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -72

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.9

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    –

        ความหนืด(mPa.sec) :    –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  115ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำได้ ที่  200ซ.

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  11.6

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  1.43

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.70 ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ หารหายใจหาสารทีความเข้มข้นสูง เข้าไปจะก่อให้เกิดแผลไหม้ น้ำท่วมปอดและอาจตายได้ ความเข้มข้นที่อาจทำให้ตายได้คือ 5000 ppm

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองและเกิดแผลไหม้ได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร และอาจทำให้เยื่อบุช่องท้องทะลุหรืออักเสบ ทำให้เกิดอาการปวดในปาก , อก , ท้อง , เกิดอาการไอ , อาเจียน และหมดสติได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง จะทำให้เกิดอาการปวดตา , เกิดการทำลายตา และอาจทำให้ตาบอด

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการทำลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

                – สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก ตับ ไต กระเพาะปัสสาวะ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความเสถียรภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : กรด , อะโคลิน , ไดเมทิลซัลเฟต , ฮาโลเจน , ซิลเวอร์ไนเตรท , โพไพลีนออกไซด์ , ไนโตรมีเทน , ซิลเวอร์ออกไซด์ , เงิน

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน แสงแดด สารที่เข้ากันไม่ได้ และแหล่งจุดติดไฟ

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การเผาไหม้จะทำให้เกิดแอมโมเนียและไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   615

        ค่า LEL % :     16

        UEL % :        25     

        NFPA Code :   310

         สารดับเพลิง : ไม่ระบุไว้

                – ไอระเหยของสารสามารถเกิดการสะสมในบริเวณที่เป็นสถานที่รับอากาศได้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้เลือกใช้สารดับเพลิง/วิธีการดับเพลิง ที่เหมาะสมสำหรับสภาพการเกิดเพลิงโดยรอบ

                – ใช้น้ำฉีดหล่อเย็นเพื่อหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่สัมผัสเพลิงไหม้ และฉีดล้างส่วนที่หกรั่วไหล หรือไอระเยหที่ยังไม่ติดไฟ

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) ที่ผ่านการรับรองจาก NIOSH พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด และมีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

                – เก็บในบริเวณที่มีการระบายอากาศเพียงพอ

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บแยกจากสารที่เข้ากันไม่ได้ และเก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส และหลีกเลียงการสัมผัสกับแสงโดยตรง

                – ภาชนะบรรจุของสารที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย ของเหลว อาจเป็นอันตรายได้ ( เช่น ไอระเหย , ของเหลว )

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : Ammonia Solution

                ประเภทอันตราย : 8

                หมายเลข UN : UN 2672

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล ให้ระบายอากาศบริเวณที่หกรั่วไหล

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสม และกันบุคคลที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันออกจากพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – เก็บส่วนที่หกรั่วไหล หรือของเหลวเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ถ้าสามารถทำได้

        – ป้องกันไม่ให้สารเคมีที่หกรั่วไหล ไหลลงสู่ท่อระบายน้ำ แม่น้ำ และแหล่งน้ำอื่น ๆ

        – ให้ทำการเจือจางส่วนที่หกรั่วไหลด้วยน้ำ หรือทำให้เป็นกลางโดยกรด เช่น อะซีติก , ไฮโดรคลอริก , ซัลฟูริก

        – ให้ดูดซับด้วยดินเหนียว , แร่หินทราย หรือสารที่เฉื่อย และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุเพื่อนำไปกำจัด

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12309291_10207269044297862_182124300_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

                 แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Unsupported Neoprene ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 250 นาที หรือให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 240 นาที และให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Neoprene/Natural Rubber Blend ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) มากกว่า 360 นาที และไม่แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Supported Polyvinyl Alcohol

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไป ให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :      ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป อย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมากๆ ห้ามไม่ให้สิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างผิวหนังทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์ ซักทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ฉีดล้างตาทันทีด้วยน้ำปริมาณมากอย่างน้อย 15 นาที นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ :    การสัมผัสเป็นระยะเวลานาน หรือการสัมผัสน้ำจะก่อให้เกิดการละลายเนื้อเยื่อของเยื่อเมือก , ทางเดินหายใจส่วนบน , ตา และผิวหนังได้

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สารนี้มีพิษต่อสิ่งแวดล้อม ชีวิตสัตว์ และพืชน้ำ
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :  

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          39

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

Acetic acid

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   Sodium acetate

        ชื่อเคมีทั่วไป     Acetic acid

        ชื่อพ้องอื่นๆ      Sodium salt; Acetic acid, sodium salt (1:1); Sodium ethanoate;

        สูตรโมเลกุล      C2H3NaO2

        สูตรโครงสร้าง      สไลด์114

        รหัส IMO       12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        127-09-3

        รหัส EC NO.    –

        UN/ID No.      –                  

        รหัส RTECS     AJ 4375000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         204-823-8

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า ICN BIOCHEMICALS

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 127-09-3         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 6891 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          –

        IDLH(ppm) :   –

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :         –

        PEL-STEL(ppm) :      –

        PEL-C(ppm) :       –

        TLV-TWA(ppm) :        –

        TLV-STEL(ppm) :      –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 :      –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :   –

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :            –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
        สถานะ : ผง

        สี : ขาว

        กลิ่น :

        นน.โมเลกุล :   –

        จุดเดือด(0ซ.) :  82

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : 123

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        58

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    1.45

        ความหนืด(mPa.sec) :    –

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  –

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  –

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  7.5-9 ที่ 200ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.35

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =          0.30ppm ที่ 250ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ : อุณหภูมิสลายตัวที่ >120 องศาเซลเซียส

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเข้าไปจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ ก่อให้เกิดอาการไอ และหายใจติดขัด

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง ทำให้เกิดผื่นแดง เกิดการบวมของผิวหนัง และปอด

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะก่อให้เกิดอาการปวดท้อง และอาเจียน

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตาอาจจะก่อให้เกิดอาการตาแดง และปวดตาได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ :  –

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้จะสลายตัวเมื่อสัมผัสกรดเข้มข้นเมื่อมีความร้อน

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : ไม่ระบุไว้

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ไม่ระบุไว้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : ไอระเหยของกรดอะซิติกมีฤทธิ์กัดกร่อนขึ้น

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : ไม่ระบุไว้

        การกัดกร่อนของโลหะ : ไม่ระบุไว้

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :            –

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :   607

        ค่า LEL % :    

        UEL % :                

        NFPA Code :    

         สารดับเพลิง : คาร์บอนไดออกไซด์ , ผงเคมีแห้ง , โฟม

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด

                – เก็บในบริเวณที่เย็นและแห้ง

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บห่างจากกรด

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ให้ไว้สำหรับสารนี้

                –  อุปกรณ์ไฟฟ้า และระบบแสงสว่างที่ใช้จะต้องเป็นแบบป้องกันการระเบิด และต้องทำการต่อสายดิน

                – หลีกเลี่ยงวิธีการที่ทำให้เกิดการสะสมของฝุ่น

        ข้อมูลการขนส่ง :

                 ชื่อในการขนส่ง : ไม่ระบุไว้

                ประเภทอันตราย : ไม่ระบุไว้

                หมายเลข UN : ไม่ระบุไว้

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : ไม่ระบุไว้

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
         – วิธีการปฏิบัติในกรณีเกิดการหกรั่วไหล เก็บส่วนที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเพื่อนำไปกำจัด

        – การกำจัดให้ทำการเผา หรือทำการฝังกลบ

        การกำจัด : ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎระเบียบที่ทางราชการกำหนด

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12305827_10207269043297837_1584498643_n12277978_10207269044017855_554821809_n12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : การเลือกประเภทถุงมือ

        แนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Nitrile ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time) 270 นาที และแนะนำให้ใช้ถุงมือที่ทำมาจากวัสดุประเภท Natural Rubber ซึ่งควรมีระยะเวลาที่จะทำให้เกิดการซึมผ่านผนังของถุงมือ (Permeation Breakthrough time)

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกสู่บริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ นำส่งไปพบแพทย์

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไป ให้ดื่มน้ำ 1-2 แก้ว ในช่วงเวลา 15 นาที กระตุ้นให้เกิดการอาเจียน นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนัง ให้ฉีดล้างด้วยน้ำและสบู่ปริมาณมากๆ พร้อมถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่ปนเปื้อนสารเคมีออก นำส่งไปพบแพทย์

        สัมผัสถูกตา :      ถ้าสัมผัสถูกตา ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมากๆ นำส่งไปพบแพทย์

        อื่นๆ : 

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
         ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ หากมีการใช้และจัดการกับผลิตภัณฑ์อย่างเหมาะสม
มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. : 

        OSHA NO. :   

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :     

        วิธีการวิเคราะห์ :         

        ข้อมูลอื่น ๆ :           

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :         

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557

 

1-Butylamine

ส่วนที่ 1: ชื่อสารเคมีและข้อมูลเบื้องต้น
         ชื่อเคมี IUPAC   1-Butanamine

        ชื่อเคมีทั่วไป     N-butylamine

        ชื่อพ้องอื่นๆ      1-Aminobutane; Aminobutane; Butyl amine; Norralamine; Mono-n-butylamine; Tutane; Monobutylamine

        สูตรโมเลกุล      C4H11N

        สูตรโครงสร้าง    12305386_10207280619627238_280380336_n

        รหัส IMO  12286089_10207247452278075_1668521281_n12283340_10207256009451999_60499863_n

        CAS No.        109-73-9

        รหัส EC NO.    612-005-00-0

        UN/ID No.      1125            

        รหัส RTECS     EO 2975000

        รหัส EUEINECS/ELINCS         203-699-2

        ชื่อวงศ์  –

        ชื่อผู้ผลิต/นำเข้า J.T.Baker

        แหล่งข้อมูลอื่นๆ

ส่วนที่ 2: องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม
        ส่วนประกอบ:

        ชื่อ         CAS #         น้ำหนักร้อยละ
                 109-73-9         
ส่วนที่ 3: การใช้ประโยชน์
        การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุไว้
ส่วนที่ 4: ค่ามาตรฐานและความเป็นพิษ
         LD50(มก./กก.) : 366 (หนู)(มก./กก.)

        LC50(มก./ม3) :          800/ 4 ชั่วโมง (หนู)(มก./ม3)

        IDLH(ppm) :    300(ppm)

        ADI(ppm) :      –

        MAC(ppm) :    –

        PEL-TWA(ppm) :        5(ppm)

        PEL-STEL(ppm) :       –

        PEL-C(ppm) :       5(ppm)

        TLV-TWA(ppm) :       5(ppm)

        TLV-STEL(ppm) :       –

        TLV-C(ppm) :      –

        พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535:     –

        พรบ. โรงงาน พ.ศ. 2535 :         –

        พรบ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. 2530 :                –

        พรบ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541   :   เฉลี่ย 8 ชั่วโมง

        พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 :          

        หน่วยงานที่รับผิดชอบ :           –

ส่วนที่ 5: คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี
         สถานะ : ของเหลว

        สี : ใส ไม่มีสี

        กลิ่น : คล้ายแอมโมเนีย

        นน.โมเลกุล :   73.4

        จุดเดือด(0ซ.) :  78

        จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง(0ซ.) : -49

        ความถ่วงจำเพาะ(น้ำ=1) :        0.74

        ความหนาแน่นไอ(อากาศ=1) :    2.5

        ความหนืด(mPa.sec) :  0.5

        ความดันไอ(มม.ปรอท) :  82 ที่ 200ซ.

        ความสามารถในการละลายน้ำที่(กรัม/100 มล.) :  ละลายน้ำ

        ความเป็นกรด-ด่าง(pH) :  12.6 ที่ 250ซ.

        แฟคเตอร์แปลงหน่วย 1 ppm =  3.00

        มก./ม3 หรือ 1 มก./ม3 =         0.33 ppm ที่ 25 0ซ.

        ข้อมูลทางกายภาพและเคมีอื่น ๆ :

มาตรา 6: อันตรายต่อสุขภาพอนามัย
        สัมผัสทางหายใจ การหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เข้าไป จะทำให้เกิดการระคายเคืองต่อจมูกและลำคอ ทำให้ปวดศีรษะ และน้ำท่วมปอดได้ ถ้าได้รับไอระเหยที่ระดับความเข้มข้นสูงจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน หน้ามืด ไอ เจ็บหน้าอก เวียนศีรษะ เกิดอาการชักกระตุกอย่างรุนแรง ง่วงซึม และอาจหมดสติได้ แต่ตามสมบัติของสารนี้จะทำให้เกิดการระคายเคืองเมื่อมีสถานะเป็นไอระเหย

        สัมผัสทางผิวหนัง การสัมผัสถูกผิวหนังจะทำให้ผิวหนังไหม้ สารนี้สามารถถูกดูดซึมผ่านผิวหนัง ซึ่งทำให้เกิดอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไปได้

        กินหรือกลืนเข้าไป การกลืนหรือกินเข้าไป จะมีอาการคล้ายกับการหายใจเข้าไป และทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณปาก คอ รวมทั้งกระเพาะอาหารและลำไส้ ซึ่งถ้าได้รับปริมาณมากอาจเสียชีวิตได้

        สัมผัสถูกตา การสัมผัสถูกตา ไอของสารจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อตา ทำให้เกิดการทำลายตา และทำให้สูญเสียการมองเห็นได้

        การก่อมะเร็ง ความผิดปกติ อื่นๆ การสัมผัสเรื้อรัง การสัมผัสถูกผิวหนังนานๆหรือบ่อยๆจะทำให้เกิดอาการผิวหนังอักเสบ

มาตรา 7: ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
         ความคงตัว : สารนี้มีความคงตัวภายใต้สภาวะปกติของการใช้และการเก็บ

        สารที่เข้ากันไม่ได้ : สารออกซิไดซ์ สารเปอร์คลอริวฟลูออไรด์ และกรดเข้มข้น

        สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง : ความร้อน เปลวไฟ แหล่งจุดติดไฟ และสารที่เข้ากันไม่ได้

        สารเคมีอันตรายที่เกิดจากการสลายตัว : การลุกไหม้จะทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์

        อันตรายจากการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ : จะไม่เกิดขึ้น

มาตรา 8: การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด
         จุดวาบไฟ(0ซ.) :           -12

        จุดลุกติดไฟได้เอง(0ซ.) :  312

        ค่า LEL % :     1.7     

        UEL % :        9.8     

        NFPA Code :    12286090_10207280455623138_1983312831_n

         สารดับเพลิง : ให้ใช้ผงเคมีแห้ง แอลกอฮอล์โฟมหรือคาร์บอนไดออกไซด์

        การระเบิด : ส่วนผสมของไอระเหยกับอากาศจะระเบิดได้ภายใต้ขีดจำกัดความไวไฟที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดวาบไฟ ไวต่อประจุไฟฟ้าสถิต

                – ไอระเหยสามารถแพร่กระจายไปสู่แหล่งจุดติดไฟและเกิดไฟย้อนกลับมาได้

                – ภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทเมื่อสัมผัสถูกความร้อนอาจทำให้เกิดการระเบิดขึ้นได้

                – การสัมผัสกับสารออกซิไดซ์มากๆ อาจจะทำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

                – อย่าใช้การฉีดน้ำเป็นลำตรง ลำน้ำจะทำให้สารเคมีและเปลวไฟแพร่กระจาย

                – ให้ใช้การฉีดน้ำเป็นฝอยสามารถใช้ควบคุมหรือหล่อเย็นภาชนะบรรจุที่ถูกเพลิงไหม้

                – กรณีเกิดเพลิงไหม้ให้สวมใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมกับหน้ากากแบบเต็มหน้า

มาตรา 9: การเก็บรักษา สถานที่เก็บ เคลื่อนย้าย ขนส่ง
         การเก็บรักษา :

                – เก็บในที่ที่เย็นและแห้ง มีการระบายอากาศเป็นอย่างดี

                – การเคลื่อนย้ายและการเก็บรักษา มีการป้องกันความเสียหายทางกายภาพ

                – แยกเก็บจากสารที่เข้ากันไม่ได้

        สถานที่เก็บ :

                – เก็บภายนอกอาคารหรือแยกเก็บให้ถูกต้อง

                – ให้ออกห่างจากพื้นที่ใดๆที่อาจเกิดอันตรายจากอัคคีภัยอย่างเฉียบพลัน

                – มีการระบายอากาศเพื่อป้องกันการเกิดระเบิด

                – ไม่ควรสูบบุหรี่บริเวณที่เก็บสารเคมีนี้

                – ให้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

                – ภาชนะบรรจุจะต้องต่อเชื่อมหรือต่อลงดินเพื่อป้องกันการเกิดประกายไฟจากไฟฟ้าสถิตย์

                – ภาชนะบรรจุของสารนี้ที่เป็นถังเปล่า แต่มีกากสารเคมีตกค้างอยู่ เช่น ไอระเหย และของเหลว อาจทำให้เกิดอันตรายได้

                – ให้สังเกตคำเตือนและข้อควรระวังทั้งหมดที่ระบุไว้สำหรับสารนี้

        ข้อมูลการขนส่ง :

                ชื่อในการขนส่ง : BUTYLAMINE

                ประเภทอันตราย : 3.2 , 8

                หมายเลข UN : UN 1125

                ประเภทการบรรจุหีบห่อ : กลุ่ม III

มาตราที่ 10: การกำจัดกรณีรั่วไหล
        – วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุรั่วไหล ให้ระบายอากาศพื้นที่ที่หกรั่วไหล

        – ให้เคลื่อนย้ายแหล่งจุดติดไฟทั้งหมดออกไป

        – ให้สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสม

        – ให้ทำการกันแยกบริเวณพื้นที่ที่อันตราย และกันบุคคลที่ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องห้ามเข้าในบริเวณนี้

        – ให้เก็บรวมรวมของเหลวที่รั่วไหล และนำกลับมาใช้ใหม่ได้ถ้าเป็นไปได้

        – ให้ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดประกายไฟ

        – ให้ดูดซับส่วนที่หกรั่วไหลด้วยวัสดุเฉื่อย เช่น แร่หินทราย(vermiculite) ทรายแห้ง ดิน และเก็บใส่ในภาชนะบรรจุกากของเสีย

        – อย่าใช้วัสดุติดไฟได้ เช่น ขี้เลื่อย ในการดูดซับสาร

        – อย่าเททิ้งลงท่อระบายน้ำ

        – ใช้น้ำฉีดเป็นฝอยเพื่อลดไอระเหย

        – แนะนำให้ใช้ตัวทำละลายของสารนี้เป็นตัวดูดซับเมื่อมีการหกรั่วไหล

        การกำจัด : สารที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้จะไม่ปลอดภัย จะต้องกำจัดเช่นเดียวกับกากของเสียอันตรายและส่งให้ผู้ซึ่งได้รับอนุญาตในการกำจัดของเสีย กระบวนการใช้หรือปนเปื้อนของสารนี้จะต้องเป็นไปตามแนวทางการจัดการของเสียตามกฎระเบียบข้อบังคับของทางราชการ การจัดการภาชนะบรรจุและที่มิได้ใช้แล้วจะต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับที่กฎหมายของส่วนกลางและท้องถิ่น

มาตรา 11: อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
 12282808_10207269089578994_74654600_n 12305827_10207269043297837_1584498643_n 12277978_10207269044017855_554821809_n 12309291_10207269044297862_182124300_n 12286194_10207269044497867_168388570_n

        ข้อแนะนำการเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPD/PPE) : ประเภทหน้ากากป้องกันระบบหายใจ

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 50 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 125 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจประเภทที่ใช้การส่งอากาศสำหรับการหายใจ ซึ่งมีอัตราการไหลของอากาศแบบต่อเนื่อง โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 25

                 – สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 250 ppm : ให้เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ ซึ่งใช้สารเคมีประเภทที่เหมาะสมเป็นตัวดูดซับในการกรอง (Cartridge) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อม tight – fitting facepiece โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50 หรือให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50      

                สารที่ช่วงความเข้มข้นไม่เกิน 300 ppm : ให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 2000

                ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉิน หรือการเข้าไปสัมผัสกับสารที่ไม่ทราบช่วงความเข้มข้น หรือการเข้าไปในบริเวณที่มีสภาวะอากาศที่เป็น IDLH : ให้ใช้อุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดที่มีถังอากาศในตัว (SCBA) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000 หรือให้ใช้อุปกรณ์ส่งอากาศสำหรับการหายใจ (Supplied – air respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า ซึ่งมีการทำงานแบบความดันภายในเป็นบวก ( pressure-demand / positive pressure mode) หรือแบบที่ใช้การทำงานร่วมกันระหว่างอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว และแบบความดันภายในเป็นบวก (combination with an auxiliary self-contained positive-pressure breathing apparatus) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 10,000

                ในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉิน : ให้ใช้อุปกรณ์ทำให้อากาศบริสุทธิ์ (Air – purifying respirator) พร้อมหน้ากากแบบเต็มหน้า (gas mask) ซึ่งมี Canister ที่สามารถป้องกันไอระเหยของสารอินทรีย์ ฝุ่น ละอองไอ และฟูม ให้ใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับในกรณีการหลบหนีออกจากสถานการณ์ฉุกเฉินพร้อมอุปกรณ์ช่วยหายใจชนิดมีถังอากาศในตัว (SCBA) โดยแนะนำให้ใช้อุปกรณ์ที่มีค่า APF. = 50

มาตรา 12: การปฐมพยาบาล
         หายใจเข้าไป :     ถ้าหายใจเข้าไปให้เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจให้ช่วยผายปอด ถ้าหายใจติดขัดให้ออกซิเจนช่วย นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        กินหรือกลืนเข้าไป :       ถ้ากลืนหรือกินเข้าไปอย่ากระตุ้นให้เกิดการอาเจียน ให้ดื่มน้ำปริมาณมาก ๆ ห้ามไม่ให้นำสิ่งใดเข้าปากผู้ป่วยที่หมดสติ นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกผิวหนัง :           ถ้าสัมผัสถูกผิวหนังให้ฉีดล้างทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกับถอดเสื้อผ้าและรองเท้าที่เปรอะเปื้อนสารเคมีออก

                – ให้ทำความสะอาดเสื้อผ้าและรองเท้าให้สะอาดก่อนนำกลับมาใช้ใหม่

                – นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        สัมผัสถูกตา :     ถ้าสัมผัสถูกตา : ให้ค่อยๆฉีดล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก ๆ อย่างน้อย 15 นาที พร้อมกระพริบตาถี่ๆขณะทำการล้าง นำส่งไปพบแพทย์ทันที

        อื่นๆ : กรณีการสัมผัสสารในปริมาณมากให้ทำการติดตามผลของการเกิดอาการน้ำท่วมปอดในระยะยาว

มาตรา 13: ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
        ข้อมูลทางนิเวศวิทยา : สิ่งแวดล้อมถูกทำลายเสียหาย เมื่อรั่วไหลสู่ดิน

                – สารนี้คาดว่าจะถูกชะล้างลงสู่น้ำใต้ดิน

                – สารนี้จะสลายตัวทางชีววิทยาเหลือความเข้มข้นปานกลางเมื่อรั่วอยู่ในดิน

                – สารนี้ระเหยในความเข้มข้นปานกลาง เมื่อรั่วไหลสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าจะไม่สะสมในสิ่งมีชีวิต

                – สารนี้มีค่าความเข้มข้นทางชีวภาพ(BCF) โดยประมาณน้อยกว่า 100

                – สารนี้คาดว่ามีการระเหยอย่างรวดเร็ว เมื่อรั่วไหลลงสู่น้ำ

                – สารนี้คาดว่าสามารถสลายตัวได้ง่ายโดยทำปฏิกิริยาเคมีเมื่อถูกแสงทำให้เกิดไฮดรอกซิล เรดิเคิล เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าจะมีการสลายตัวไปครึ่งหนึ่ง(halrtife) ภายในเวลาน้อยกว่า 1-10 วัน เมื่อรั่วไหลสู่อากาศ

                – สารนี้คาดว่าสามารถเอาออกจากบรรยากาศได้ง่ายโดยเกิดการตกตะกอนแบบเปียก

                – ความเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม : ไม่พบข้อมูลที่ต้องการค้นหา

มาตรา 14: การเก็บและวิเคราะห์
         NMAM NO. :  2012  

        OSHA NO. :    ไม่ระบุไว้

        วิธีการเก็บตัวอย่าง :      หลอดเก็บตัวอย่าง

        วิธีการวิเคราะห์ :         แก๊ซโครมาโตกราฟฟี

        ข้อมูลอื่น ๆ :

                  – การเก็บตัวอย่างใช้ : หลอดชนิด Sillica gel tube 150 mg /75 mg

                  – อัตราการไหลสำหรับเก็บตัวอย่าง : 0.01 ถึง 1 ลิตร

                  – ปริมาตรเก็บตัวอย่างต่ำสุด-สูงสุด : ต่ำสุด 2 ลิตร สูงสุด 100 ลิตร

มาตรา 15: ขั้นตอนการปฏิบัติงานฉุกเฉิน
        AVERS Guide :          19

        DOT Guide :   –

        – กรณีฉุกเฉินโปรดใช้บริการระบบให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติภัยจากสารเคมีทางโทรศัพท์หรือสายด่วน AVERS ที่หมายเลขโทรศัพท์ 1650

        – ต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติมโปรดติดต่อ กองจัดการสารอันตรายและกากของเสีย กรมควบคุมมลพิษ โทร 0 2298 2447,0 2298 2457

มาตรา 16: ข้อมูลอื่น ๆ
        อ้างอิง: กรมควบคุมมลพิษ 2557 ศูนย์ข้อมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ์ MSDS Database (ออนไลน์)

        แหล่งที่มา http://msds.pcd.go.th ธันวาคม 2557